0819紐約時報
*【塔利班重新掌權,他們會支援恐怖組織嗎?】
20年前,美國和北約入侵阿富汗,以此回應受塔利班庇護的基地組織發動的9•11恐怖襲擊。現在既然塔利班重新掌權,人們開始擔心,在新技術和社交媒體的幫助下,阿富汗將再次成為伊斯蘭激進主義和恐怖主義的溫床。目前還處於早期階段,專家們在塔利班將選擇什麼樣的方式執政,以及他們可能會成為多大威脅、或多快成為威脅等問題上存在分歧。但毋庸置疑的是,塔利班的勝利是對世界各地伊斯蘭激進分子巨大的宣傳鼓舞。有人預測,塔利班在過去20年裡已經學到了一些教訓,不太可能再支援基地組織(Al Qaeda)和伊斯蘭國(Islamic State)等組織,因為他們知道那樣做的後果。
https://cn.nytimes.com/world/20210818/taliban-afghanistan-al-qaeda/
*【關於塔利班,你應該瞭解的六個問題】
1995年冬天,一名訪問阿富汗的《紐約時報》記者報導稱,經過多年殘酷的內亂,重大改變似乎即將發生。一支“由公開宣稱的伊斯蘭純粹主義者和阿富汗愛國者組成的新勢力”迅速控制了該國40%以上的地區。這令人感到驚訝,因為許多戰士拿起武器的前一年還只是宗教學生。他們自稱塔利班,意思正是“學生”。 25年後,他們在一場奪去數萬人生命的戰爭中熬過了國際軍事聯盟駐紮的時間,曾經的學生們現在再次成為了這片土地的統治者。
https://cn.nytimes.com/world/20210818/who-are-the-taliban/
*【觀點:諾貝爾和平獎得主馬拉拉:我為我的阿富汗姐妹們擔憂】
馬拉拉在時報撰文寫道,過去20年裡,數百萬阿富汗女性和女童接受了教育。當塔利班捲土重來,她們希冀的未來正在消失。世界必須行動起來幫助她們,刻不容緩。
https://cn.nytimes.com/opinion/20210818/malala-afghanistan-taliban-women/
*【發起反抗塔利班統治的行動,考驗著阿富汗不確定的未來】
塔利班要鞏固對阿富汗的控制,面臨了首個挑戰,在公開保證不會對敵對陣營進行報復後,他們使用武力驅散了至少兩個城市的抗議活動。仍有數千人繼續聚集在首都喀布爾的機場周圍,希望乘飛機離開該國。群眾衝向某些入口,卻被塔利班軍隊擊退,並對空鳴槍。一名在現場的北約官員說,有17人受傷。同時,塔利班戰士用槍聲驅散了東北部城市賈拉拉巴德和東南部城市霍斯特的示威活動,一些抗議者舉起了塔利班幾天前取下的阿富汗政府旗幟。據報導稱,賈拉拉巴德有兩三人喪生。
https://www.nytimes.com/2021/08/18/world/asia/afghanistan-taliban-takeover-violence.html
*【美國一系列作法讓阿富汗盟友陷入瘋狂、束手無策和急於撤離的境地】
上個月拜登總統為撤離阿富汗駐軍的決定進行了辯護,他向那些冒著生命危險幫助美國軍隊的阿富汗人做出了與戰爭本身一樣古老的承諾。總統說:“我們向這些男女傳達的資訊是明確的:如果你願意,美國有你的家。”我們將與你站在一起,就像你與我們站在一起一樣。”今年早些時候不開始大規模撤離阿富汗口譯員、導遊和他們的親屬的決定,讓數千人陷入了困境,在經歷了20年的戰爭後,他們被困在一個現在由塔利班控制的國家。甚至在拜登宣佈撤軍之前,就拒絕了議員和活動人士發出也協助撤離阿富汗人的呼籲。阿富汗人現在發現自己處於危險之中。
https://www.nytimes.com/2021/08/18/us/politics/afghanistan-refugees.html
*【拜登說,如果需要撤離,美軍可能會停留更長時間】
拜登總統表示,美國致力於將每一位美國人撤離阿富汗,即使這可能意味著將軍事任務延長到他 8 月 31 日的最後期限之後,以實現全面撤軍。拜登先生在接受 ABC 新聞採訪時說:如果還有美國公民離開,我們將留下來讓他們全部離開。
https://www.nytimes.com/2021/08/18/world/biden-abc-news-afghanistan.html
*【官員稱說,情報機構沒有預測到阿富汗如此快速淪陷】
高級情報和國防官員表示,在過去一周,在塔利班接管阿富汗前的最後幾天,提交給拜登總統的情報報告,未能預測阿富汗政府即將垮臺,儘管此前的警告越來越嚴厲,整個夏天,情報機構一直在加強對阿富汗不斷惡化的局勢的警告。7月份的報告更加具體,指出塔利班是如何控制通往喀布爾的道路的,以及該組織是如何從1990年代接管該國中吸取教訓的。但高級政府官員承認,隨著8月份白宮關於阿富汗問題的會議節奏加快,以及在塔利班本週末接管前幾天,情報機構沒有預測到,阿富汗即將淪陷。
https://www.nytimes.com/2021/08/18/us/politics/afghanistan-intelligence-agencies.html
*【美國和國際貨幣基金組織對塔利班實施財政緊縮】
儘管其在阿富汗的存在混亂結束,但美國仍然控制著屬於阿富汗中央銀行的數十億美元,華盛頓凍結了這筆資金,同時,國際貨幣基金組織也暫停撥放逾4億美元的援助經費。
https://www.nytimes.com/2021/08/18/business/afghan-central-bank.html
*【阿富汗總統出逃阿聯酋後首度現身】
阿什拉夫•加尼在週三晚間發佈的視頻中說,“如果我留在阿富汗,阿富汗人民會再次目睹總統被絞死。”加尼表示,自己非常想回到阿富汗,並稱自己保持著與該國兩名政治領袖的聯繫,後者一直在和塔利班進行談判。
https://www.nytimes.com/2021/08/18/world/middleeast/ashraf-ghani-afghanistan-taliban.html
*【美國撤離“帝國墳場”後,中國該如何與塔利班打交道?】
中國官方媒體稱美國的倉皇撤軍“映照的是帝國最後的黃昏”,外交部稱這是對美國的教訓,但北京的任何自鳴得意可能都為時過早。專家指出,雖然塔利班的掌權削弱了美國的聲望及影響力,但這也可能製造新的地緣政治危險和安全風險。當前中國沒有表現出太多介入阿富汗事務的熱情。分析認為,對北京來說,得失都有可能。
https://www.nytimes.com/2021/08/18/world/asia/china-afghanistan-taliban-usa.html
*【以色列面臨第四波感染,疫苗有效性遭質疑】
以色列迅速推開的疫苗接種運動曾讓人們恢復日常生活。但在過去兩周,該國單日新增病例不斷上升,週一確診患者超過8000名,是六個月以來最高的單日數字。專家表示,早期接種疫苗者的高感染率表明,疫苗的保護作用會隨時間減弱;高傳染性的Delta變種也可能降低了疫苗的有效性。
https://www.nytimes.com/2021/08/18/world/middleeast/israel-virus-infections-booster.html
*【拜登加強對療養院和學校的防疫策略,並敦促注射加強針】
拜登政府週三在多條戰線上採取行動要反擊激增的Delta變種,強烈建議為大多數接種疫苗的美國成年人注射加強疫苗,並迫使養老院為其工作人員接種疫苗。
在白宮發表的講話中,拜登總統還指示教育部長“運用所有的權力,並在適當的情況下採取法律行動“,以阻止各州禁止在教室中戴口罩。此舉,肯定將加劇與部分共和黨州長的鬥爭。
https://www.nytimes.com/2021/08/18/us/politics/biden-schools-nursing-homes-booster.html
*【Covid-19實時更新】
#華盛頓州要求所有教師和工作人員接種疫苗。該政策是迄今為止任何州對學校教師和其他工作人員實施的最嚴格的疫苗規定,只允許少數例外。學校工作人員必須在 10 月 18 日之前接種疫苗,否則可能會被解僱。
#CDC 研究表明,疫苗對病毒感染的保護作用正在減弱。美國疾病控制與預防中心週三發布了三項研究,聯邦官員表示,這些研究提供的證據表明,未來幾個月將需要加強輝瑞 BioNTech 和 Moderna 冠狀病毒疫苗的注射。
#邁阿密和坦帕的學校董事會無視國家規定要求戴口罩。
#地震和洪水使海地遏制大流行的努力步履蹣跚。
#世界衛生組織官員周三警告說,塔利班對阿富汗的接管正在阻礙應對冠狀病毒大流行和其他健康危機的努力。
https://www.nytimes.com/live/2021/08/18/world/covid-delta-variant-vaccine?type=styln-live-updates&label=coronavirus%20updates&index=0
*【E.P.A.禁止與兒童神經損傷相關的殺蟲劑】
美國環境保護署將推翻川普時代保留chlorpyrifos的決定,chlorpyrifos是一種自 1965 年以來,廣泛用於水果和蔬菜的常見的農藥。
https://www.nytimes.com/2021/08/18/climate/pesticides-epa-chlorpyrifos.html
*【阿拉斯加州聯邦法官以氣候危害為由,阻止了該州石油鑽探項目的許可】
阿拉斯加州的聯邦法官否決了該州北坡一個大型石油鑽井專案的施工許可證,該專案的設計目標是在未來30年內每天生產10萬桶以上的石油。石油巨頭康菲石油公司(ConocoPhillips)提出的數十億美元的探油計畫,已經得到川普政府的批准,並得到了拜登政府的合法支援。但環保組織提起告訴,辯稱聯邦政府沒有考慮到鑽井對野生動物的影響,以及石油燃燒對全球變暖的影響,聯邦法官同意此一說法。
https://www.nytimes.com/2021/08/18/climate/alaska-willow-oil.html
*【香港大學四名學生因涉嫌“宣揚恐怖主義”被捕】
這四名學生系港大學生會成員,曾在7月的一次會議上為一名刺傷員警後輕生的男子默哀。警方指港大學生會通過的一項動議“合理化、美化和光榮化恐怖主義”。
https://cn.nytimes.com/china/20210818/hong-kong-university-arrests/
alaska climate 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
เมื่อขั้วโลกเหนือ กำลังท้าทาย คลองสุเอซ /โดย ลงทุนแมน
เหตุการณ์เรือขนส่งสินค้า Ever Given เกยตื้นขวางคลองสุเอซ
ซึ่งเป็นเส้นทางเดินเรือสำคัญของโลก เมื่อปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมา
ได้จุดประเด็นให้หลายฝ่ายต้องตระหนักว่า การค้นหาเส้นทางเดินเรือใหม่ ๆ น่าจะช่วยป้องกันความสูญเสียมูลค่ามหาศาลที่อาจเกิดขึ้นเช่นนี้ได้
ไม่กี่วันหลังจากเหตุการณ์นั้น มหาอำนาจโลกตะวันออกอย่างประเทศจีน
ก็เริ่มมีการพูดถึง เส้นทางเดินเรือใหม่
เส้นทางที่ว่านี้ คือการเดินเรือผ่าน “ขั้วโลกเหนือ”
เส้นทางนี้เป็นอย่างไร แล้วจีนเข้าไปเกี่ยวกับเรื่องนี้อย่างไร
ทั้งที่ไม่มีพื้นที่อยู่ในเขตขั้วโลกเหนือหรือภูมิภาคอาร์กติกเลย ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
เพื่อให้เห็นภาพรวมของเรื่องนี้ เราต้องมารู้จักภูมิภาคอาร์กติก ที่เป็นพื้นที่สำคัญของเรื่องนี้กันก่อน
อาร์กติก เป็นภูมิภาคที่อยู่ตรงขั้วโลกเหนือ
โดยถ้าเรามองแผนที่โลกโดยให้ขั้วโลกเหนือเป็นศูนย์กลางนั้น ภูมิภาคอาร์กติก จะมีพื้นที่คล้ายวงกลม โดยมีจุดศูนย์กลางตรงขั้วโลกเหนือ และครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 14.1 ล้านตารางกิโลเมตร
โดยดินแดนของอาร์กติกนั้น ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของประเทศต่าง ๆ ประกอบด้วย รัสเซีย, ฟินแลนด์, สวีเดน, นอร์เวย์, ไอซ์แลนด์, เดนมาร์ก, แคนาดา และสหรัฐอเมริกา
ประเทศที่มีความยาวชายฝั่งในอาร์กติกมากที่สุด คือ “รัสเซีย” ที่มีความยาวตามแนวชายฝั่ง 24,140 กิโลเมตร ซึ่งคิดเป็น 44% ของความยาวชายฝั่งทั้งหมดในอาร์กติก
พื้นที่บริเวณอาร์กติกนี้ ยังถือเป็นแหล่งขุมทรัพย์ของรัสเซีย โดยนํ้ามันดิบกว่า 60% และก๊าซธรรมชาติกว่า 95% ของรัสเซีย ได้มาจากพื้นที่ในเขตนี้
ส่วนมหาอำนาจแห่งโลกตะวันตกอย่าง สหรัฐอเมริกา
มีความยาวตามแนวชายฝั่งในภูมิภาคอาร์กติกเพียงแค่ประมาณ 4,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งเป็นพื้นที่ของรัฐอะแลสกา มีประชาชนที่อาศัยในเขตขั้วโลกนี้ประมาณ 7 หมื่นคน ซึ่งน้อยกว่ารัสเซียที่มีมากถึง 2 ล้านคน
พูดได้ว่า รัสเซีย ถือเป็นประเทศที่มีอิทธิพลค่อนข้างมากในแถบอาร์กติก
และเรื่องที่กำลังเป็นประเด็นสนใจของพื้นที่ในภูมิภาคนี้ ก็คือ “เส้นทางเดินเรือ”
โดยจุดสำคัญของเส้นทางการเดินเรืออาร์กติกนี้ คือช่องแคบเบริง (Bering)
ซึ่งถ้าหากเรากางแผนที่โลกออกมา ช่องแคบเบริงนี้ ก็คือบริเวณที่คั่นตรงกลางระหว่างพื้นที่ ที่ใกล้กันที่สุดของทวีปอเมริกาและเอเชีย
ช่องแคบนี้จะมีเกาะ Diomede ใหญ่ (Big Diomede) ที่อยู่ในเขตประเทศรัสเซีย และ Diomede น้อย (Little Diomede) ที่อยู่ในเขตของสหรัฐอเมริกาบริเวณรัฐอะแลสกา ซึ่งทั้งสองเกาะมีความห่างกันแค่ 3.8 กิโลเมตรเท่านั้น
โดยเส้นทางเดินเรือขั้วโลกนี้จะขึ้นเหนือผ่านทะเลแบเร็นตส์ตอนเหนือของรัสเซีย แล้วมาโผล่ที่ทะเลนอร์เวย์ทางตอนเหนือของนอร์เวย์ แล้วลงใต้ไปยังเมืองท่าสำคัญของยุโรป
ซึ่งมีการเก็บข้อมูลจากเรือขนส่งที่ใช้เส้นทางนี้ว่าสามารถย่นระยะการเดินเรือ ได้เกือบ 40%
ตัวอย่างเช่น
ถ้าเรือออกจากท่าเรือในโยโกฮามะจากประเทศญี่ปุ่น เดินทางไปยังท่าเรือในอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์
- ถ้าใช้เส้นทางผ่านทะเลจีนใต้ ผ่านช่องแคบมะละกา ทะเลอาหรับ คลองสุเอซ ช่องแคบยิบรอลตาร์ และช่องแคบอังกฤษ
เส้นทางนี้ จะมีระยะทางประมาณ 20,618 กิโลเมตร
- แต่ถ้าใช้เส้นทางเดินเรือที่ขึ้นเหนือ ไปพาดผ่านภูมิภาคอาร์กติก ผ่านช่องแคบเบริง ทะเลแบเร็นตส์ และผ่านทะเลนอร์เวย์
เส้นทางนี้ จะมีระยะทางเพียงแค่ประมาณ 12,982 กิโลเมตร เท่านั้น
จะเห็นได้ว่า เส้นทางการเดินเรือจากโลกตะวันออกไปสู่โลกตะวันตก ผ่านภูมิภาคอาร์กติก ช่วยลดระยะทางลงได้มากเลยทีเดียว
หลายปีที่ผ่านมา เส้นทางเดินเรือขนส่งสินค้าผ่านทะเลอาร์กติกมีความสำคัญขึ้นเรื่อย ๆ
ในปี 2016 มีเรือขนส่งใช้เส้นทางนี้ 297 ลำ
และปี 2020 มีเรือขนส่งใช้เส้นทางนี้ประมาณ 400 ลำ หรือเพิ่มขึ้นกว่า 35%
โดยมีการขนส่งสินค้ากว่า 32 ล้านตัน ซึ่งกว่า 18 ล้านตันเป็นการขนส่งก๊าซธรรมชาติ
อย่างไรก็ตาม จำนวนเรือที่ใช้เส้นทางนี้ก็ยังถือว่าน้อยมาก เมื่อเทียบกับเส้นทางจากตะวันออกไปตะวันตกผ่านคลองสุเอซ ที่มีเรือขนส่งสินค้าผ่านเส้นทางประมาณ 19,000 ลำ ตลอดปี 2020 ที่ผ่านมา
ที่เป็นแบบนี้ เพราะเส้นทางบริเวณอาร์กติก ปกคลุมไปด้วยน้ำแข็งที่ทำให้การเดินเรือทำได้ยากลำบาก ต้องอาศัยเรือทลายน้ำแข็ง (Icebreaker Ships) ในการนำหรือสร้างเส้นทางให้เรือขนส่งสินค้า
ทีนี้ หลายคนคงกำลังสงสัย แล้วจีนมาเกี่ยวอะไรกับพื้นที่นี้
ทำไมช่วงที่ผ่านมา กลายเป็นจีน ที่ออกมาให้ความเห็นเกี่ยวกับเส้นทางการเดินเรือผ่านขั้วโลกเหนือ ?
ต้องบอกว่าแม้จีนจะไม่ได้มีพื้นที่ประเทศในเขตอาร์กติกหรือขั้วโลกเหนือ
แต่จีนก็เป็นหนึ่งในประเทศ ที่ใช้บริการเส้นทางแถบอาร์กติกเป็นประจำในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
จีนอาศัยความใกล้ชิดกับพันธมิตรอย่างรัสเซีย และใช้เส้นทางดังกล่าวในการขนส่งสินค้า ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ไปยังทวีปยุโรป สอดคล้องกับนโยบาย One Belt One Road ของจีน
ที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งคือ นโยบายและแผนงานของรัฐบาลจีนในช่วง 4-5 ปีหลัง จีนมีแผนลงทุนในประเทศแถบสแกนดิเนเวีย ซึ่งมีพื้นที่อยู่ในอาร์กติก
เช่นปี 2018 มีแผนเช่าซื้อสนามบินใน Kemijärvi ในประเทศฟินแลนด์
นอกจากนั้นจีนยังมีแผนการลงทุนทำเหมืองแร่ที่เกาะกรีนแลนด์ ที่ตั้งอยู่กลางมหาสมุทรอาร์กติก
และในปีเดียวกันนั้น รัฐบาลจีนได้จัดทำ “นโยบายพัฒนาขั้วโลกเหนือ” เนื่องจากเล็งเห็นศักยภาพในหลาย ๆ ด้าน ทั้งด้านทรัพยากร และเป็นเส้นทางการขนส่งสำคัญ
สรุปคือ จีนก็พยายามเข้ามามีบทบาทและสร้างอิทธิพลในแถบอาร์กติกหรือขั้วโลกเหนือ ผ่านการเป็นพันธมิตรกับรัสเซีย และการลงทุนในหลายประเทศแถบอาร์กติก ด้วยเช่นกัน
ส่วนทางฝั่งยักษ์ใหญ่แห่งซีกโลกตะวันตกอย่างสหรัฐอเมริกา ที่แม้จะมีรัฐอะแลสกาอยู่ในภูมิภาคอาร์กติก แต่ก็เป็นส่วนน้อยมากเมื่อเทียบกับทางรัสเซีย
ในปี 2019 รัฐบาลของประธานาธิบดีดอนัลด์ ทรัมป์ ก็พยายามขอซื้อเกาะกรีนแลนด์ โดยเสนอแพ็กเกจส่งเสริมการลงทุนและกระตุ้นเศรษฐกิจกว่า 370 ล้านบาท แต่สุดท้ายถูกปฏิเสธจากเจ้าของพื้นที่อย่างรัฐบาลเดนมาร์ก
หมายความว่า สหรัฐอเมริกา ก็มีความพยายามที่จะขยายอิทธิพลในแถบนี้ให้มากขึ้น จากที่ตอนนี้มีดินแดนที่คาบเกี่ยวอยู่ในเขตอาร์กติกเพียงแค่รัฐอะแลสกาเท่านั้น
อีกเรื่องที่น่าสนใจก็คือ “เรือตัดนํ้าแข็ง”
ที่เป็นพาหนะสำคัญในเรื่องการเดินเรือในเส้นทางสายขั้วโลกเหนือ
ซึ่งปัจจุบันประเทศที่เชี่ยวชาญและครอบครองเรือแบบนี้มากที่สุด ก็คือ รัสเซีย
รัสเซีย มีเรือตัดนํ้าแข็งมากถึงเกือบ 60% ของจำนวนทั้งหมดในโลก และยังมีแผนต่อเรือรุ่นใหม่ที่มีประสิทธิภาพและเทคโนโลยีใหม่ขึ้นทุกปี อย่างเช่น เรือตัดน้ำแข็งพลังงานนิวเคลียร์ ที่ทรงประสิทธิภาพมากขึ้นเรื่อย ๆ
มากไปกว่านั้น การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกเรื่อย ๆ แบบนี้
ก็คาดกันว่า น้ำแข็งขั้วโลกจะละลายเร็วและมากขึ้น
ทำให้การเดินเรือผ่านเส้นทางนี้สะดวกและเร็วขึ้นด้วย
เท่ากับว่า ในอนาคตถ้าอุณหภูมิโลกสูงขึ้นจนน้ำแข็งขั้วโลกละลายไปมาก
รวมถึงเทคโนโลยีเรือตัดน้ำแข็งพัฒนามากขึ้นเรื่อย ๆ
เส้นทางเดินเรือผ่านขั้วโลกเหนือ ก็น่าจะก้าวขึ้นมามีบทบาทกับการเดินเรือจากโลกตะวันออกไปตะวันตกได้มากขึ้น และก็น่าจะสร้างความท้าทายที่มากขึ้นให้กับเส้นทางเดินเรือที่เป็นที่นิยมในตอนนี้อย่าง คลองสุเอซ
อีกเรื่องที่น่าสนใจไม่แพ้กัน คือเราจะเห็นว่าหลายประเทศพยายามเข้ามามีบทบาทและอิทธิพลในพื้นที่อาร์กติกกันมากขึ้น
ทั้งรัสเซีย ที่ถือเป็นผู้ทรงอิทธิพลจากการมีดินแดนส่วนมากในอาร์กติก
จีน ที่อาศัยความใกล้ชิดกับรัสเซีย และการเข้าไปลงทุนในแถบอาร์กติกเพื่อหวังจะได้ประโยชน์จากทรัพยากรในภูมิภาคอันหนาวเหน็บแห่งนี้
และสหรัฐอเมริกา ที่แม้จะมีดินแดนส่วนน้อยในอาร์กติก แต่ก็น่าจะอาศัยการเป็นพันธมิตรที่สนิทสนมกับแคนาดาและประเทศอื่นในภูมิภาคนี้ ในการเข้ามามีอิทธิพลในพื้นที่เช่นกัน
ก็ต้องบอกว่า แม้ภูมิภาคอาร์กติก จะปกคลุมด้วยน้ำแข็งและความหนาวเหน็บ
แต่ดูแล้ว การแข่งขันกันมีอิทธิพลในพื้นที่นี้ กำลังร้อนระอุขึ้นเรื่อย ๆ เลยทีเดียว..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://thehill.com/changing-america/sustainability/infrastructure/547041-alaska-gov-warns-china-and-russia-are-taking
-https://www.statista.com/chart/24511/vessels-and-net-tonnage-transiting-the-suez-canal/
-https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81
-https://www.thenewslens.com/article/131668
-https://www.thenewslens.com/article/125068
-https://insideclimatenews.org/news/03122018/national-security-arctic-icebreaker-funding-emergency-climate-change-coast-guard-military-readiness/
-https://www.chinatimes.com/newspapers/20210405000097-260301?chdtv
-https://newtalk.tw/news/view/2021-04-08/560400
-http://www.thousandreason.com/post12272361026323
alaska climate 在 文茜的世界周報 Sisy's World News Facebook 的精選貼文
0818紐約時報
*【民主黨全國代表大會線上上進行】
這場史無前例的虛擬大會於美東時間週一晚間開幕,來自兩黨的人士都將登臺為前副總統拜登背書。大會將持續四天,首日前第一夫人蜜雪兒•歐巴馬、參議員伯尼•桑德斯和紐約州州長安德魯•古莫等發表講話。他們稱讚拜登,拜登將於週四正式接受該黨的提名,並明確表示如果川普要贏得第二任,他們對國家的未來深表憂慮。
https://www.nytimes.com/2020/08/17/us/politics/democratic-national-convention-recap.html
*【數名共和黨人公開表態不支持川普連任】
前俄亥俄州州長、長期共和黨人約翰•R•凱西奇也將登臺,公開支持拜登。前國土安全高官邁爾斯•泰勒成為川普政府中公開支持拜登的最高級別前任官員。泰勒在一則視頻中表示,川普的行為“令人恐懼”,他正在“積極地損害我們的安全”。
https://www.nytimes.com/article/republicans-voting-for-biden-not-trump.html
*【川普質疑拜登的心智能力,稱賀錦麗是拜登的”老闆”】
川普在威斯康辛州舉行競選活動,至少700名支持者現身 Oshkosh.Wis機場,在空軍一號降落時歡呼,但在擁擠的人群中,人們罕少佩戴口罩。川普在威斯康辛州的空軍一號(Air Force One)前,該州在2016年總統戰勝希拉蕊為川普拿下10張關鍵選舉票,川普警告,2020年的選舉是“為我們國家和文明本身的生存而戰”,並譴責拜登是民主黨”激進左翼”的傀儡。在民主黨全國代表大會開始的前幾小時,川普表示,這場活動不會有吸引力。但在冠狀病毒大流行摧毀了美國經濟之際,川普的連任競選也困難重重,民調數字低於拜登。
https://www.nytimes.com/2020/08/17/us/politics/trump-campaign-biden-harris.html
*【郵政危機促使各州尋找寄送選票的替代方案】
郵政可能延遲寄送的問題,促使選舉委員會必須重新考慮郵寄投票的策略,一些州試圖通過投遞箱,直通投遞票或擴大當面投票選項來繞過郵局。
https://www.nytimes.com/2020/08/17/us/politics/postal-service-voting.html
*【賀錦麗的印度背景如何影響了她的價值觀】
賀錦麗受到她在印度出生的母親、印度外祖父和印度大家族的價值觀指引。她的外祖父打破了那個時代的刻板印象,實踐了進步的公共服務觀和對女性堅定不移的支援。
https://cn.nytimes.com/usa/20200817/kamala-harris-india/
*【川普政府擴大華為限制令】
商務部週一宣佈新規,進一步限制華為購買美國設計和製造的晶片的能力。新規在5月頒佈的限制令基礎上,將禁令範圍延伸至美國設備在國外製造的所有晶片,並將華為的38家附屬企業列入禁止與美國公司合作的名單。華為發言人表示,在評估影響的同時會繼續關注形勢。
https://www.nytimes.com/2020/08/17/technology/trump-huawei-commerce-chips.html
*【又一名前CIA雇員被控為中國從事間諜活動】
這名67歲的夏威夷居民被控向中國政府出售機密資訊,遭到逮捕。該男子生於香港,後入籍美國,還為FBI擔任過翻譯。這是美國前情報官員被控為北京從事間諜活動的最新一起案件。
https://www.nytimes.com/2020/08/17/us/politics/china-spying-alexander-yuk-ching-ma.html
*【白俄羅斯發生了什麼?】
在一場被認為存在造假的總統大選之後,全國各地的抗議者湧上街頭表達不滿,但遭到員警暴力鎮壓。據信已有數千名抗議者被逮捕,平民被毆打的視頻層出不窮。時報回顧了導致抗議發生的事件和血腥對峙的現場。
https://www.nytimes.com/2020/08/13/world/europe/belarus-protests-guide.html
*【夾在中美之間,日本政府考慮部署遠端導彈】
出於對中國和朝鮮軍事威脅的擔憂,及對美國安保承諾的懷疑,安倍政黨開始探討日本是否應採購遠端導彈,喚起了一場敏感的爭論。和平憲法規定日本軍隊行動僅限於防衛。
https://cn.nytimes.com/asia-pacific/20200817/japan-military-missiles-pacifist/
*【紐西蘭宣佈推遲大選】
紐西蘭總理阿德恩表示,由於新病例在奧克蘭持續蔓延,該國將推遲四周至10月17日舉行大選。在本土新增病例清零百日後,奧克蘭的新一輪疫情共出現58名感染者。
https://www.nytimes.com/2020/08/17/world/asia/new-zealand-election-coronavirus.html
*【群體免疫的標準是什麼?】
科學家此前曾表示,一定數量的人口中有70%的人接種疫苗或在感染中康復,才能達到群體免疫的閾值。但現在十幾位專家表示,閾值達到50%可能就夠了。這意味著紐約和孟買等城市可能已經達到了群體免疫的門檻。
https://www.nytimes.com/2020/08/17/health/coronavirus-herd-immunity.html
*【川普政府敲定開放北極鑽探計畫】
川普政府完成了其計劃,將阿拉斯加的北極國家野生動物保護區的一部分開放給石油和天然氣開發,此舉推翻了對美國剩餘的最大曠野的六十年保護。該決定為這場將使野生保護區開發的合法性問題再度浮上檯面。據信,該區坐落在數十億桶石油之上,但也是北極熊和成群馴鹿遷徙的家園。
https://www.nytimes.com/2020/08/17/climate/alaska-oil-drilling-anwr.html
*【死亡谷記錄了地球上最熱的溫度】
死亡谷位於內華達州邊界附近的加州東南部的莫哈韋沙漠中,海拔282英尺,是美國最低,最乾燥,最熱的位置。根據NOAA天氣預報中心的說法,週日下午3:41,當地命名的Furnace Creek溫度達到華氏130度,名符其實的再次創下它的記錄。相當於54攝氏度這將是地球上可靠記錄的最高溫度。
https://www.nytimes.com/2020/08/17/climate/death-valley-hottest-temperature-on-earth.html
*【Covid-19實時更新】
#大學開學後,各州相繼推出策略,以應對疫情可能的挑戰,但校園仍彌蔓濃厚的疑慮和恐懼。北卡羅來納大學教堂山分校宣布,將從周三開始對所有本科課程進行遠程學習。
#對於中小學生和教職員工來說,這是一個艱難的返校季節。
#數據報告問題在愛荷華州和其他地方引起混亂。根據愛荷華城的護士執業者達娜•瓊斯(Dana Jones)對該州報告數據的差異進行了分析,他說,在愛荷華州,可能在三月,四月,五月和六月而不是最近的情況下,錯誤地報導了近千例病例。
#一些醫生說,他們所治療的人,比起醫學專業人士更傾向於相信社交媒體的錯誤訊息。
#美國郵政局長將在下周向眾議院小組作證。
#紐約州長古莫表示,紐約的體育館最快將於8月24日啟用,最慢不超超過9月2日。
#衛生官員擔心會出現冠狀病毒死灰復燃和嚴重的流感季節,因此鼓勵人們注射流感疫苗。
#韓國“愛第一”教會牧師全光焄新冠檢測呈陽性。過去六天中,該教會成員已有超過300人被感染。總統文在寅此前指責全光焄妨礙政府抗疫努力。
#澳洲週一報告25宗新增死亡病例,全部來自維多利亞州。這是新冠大流行以來該國單日死亡病例最多的一天。
#比利時宣佈,從9月1日起,學生將每週上五天重返學校。
#印度週一報告了941例死亡,使該國的死亡人數超過50,000。上週,印度取代英國成為世界上死亡人數第四高的國家,僅次於美國,巴西和墨西哥。
https://www.nytimes.com/2020/08/17/world/coronavirus-covid.html