กับดักรายได้ปานกลาง ปัญหาใหญ่ ของประเทศกำลังพัฒนา /โดย ลงทุนแมน
Middle Income Trap หรือ กับดักรายได้ปานกลาง
คือปัญหาสำคัญ ที่ทำให้เศรษฐกิจของบางประเทศ พัฒนาแบบก้าวกระโดดต่อไปได้ยากลำบาก
ซึ่งปัญหานี้เอง ที่ทำให้หลายประเทศไม่สามารถก้าวข้ามไปสู่ประเทศรายได้สูงได้เสียที
กับดักรายได้ปานกลาง คืออะไร
แล้วประเทศจะก้าวข้ามกับดักนี้ได้อย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
การจัดอันดับว่าประเทศไหน ถูกจัดอยู่ในรายได้ระดับใด ตามเกณฑ์ล่าสุดของ World Bank จะถูกวัดด้วยรายได้ประชาชาติต่อหัว หรือ GNI per capita
- ถ้ารายได้ประชาชาติต่อหัว น้อยกว่า 32,300 บาทต่อปี
ประเทศนั้นจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศรายได้ต่ำ
- ถ้ารายได้ประชาชาติต่อหัว อยู่ในช่วง 32,300-391,200 บาทต่อปี
ประเทศนั้นจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศรายได้ปานกลาง
- ถ้ารายได้ประชาชาติต่อหัว มากกว่า 391,200 บาทต่อปี
ประเทศนั้นจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศรายได้สูง
ทั้งนี้ ปัจจัยที่ช่วยให้ประเทศหนึ่ง ประสบความสำเร็จในการยกระดับจากประเทศที่มีรายได้น้อยมาสู่กลุ่มประเทศรายได้ปานกลาง อาจเกิดมาจากหลายปัจจัย
ยกตัวอย่างเช่น
- ค่าจ้างแรงงานในประเทศที่ต่ำเมื่อเทียบกับประเทศอื่น จนสามารถดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศได้จำนวนมาก
- การเคลื่อนย้ายแรงงานจากภาคเศรษฐกิจที่มีมูลค่าเพิ่มต่ำ เช่น ภาคเกษตรกรรม ไปสู่ภาคเศรษฐกิจที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น เช่น ภาคการบริการ และภาคอุตสาหกรรมการผลิต
- มีทรัพยากรธรรมชาติที่เอื้อต่อการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรพลังงานสามารถส่งออกจนสร้างรายได้มหาศาล หรือมีสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ จนสร้างมูลค่าจากการท่องเที่ยวได้มาก
อย่างไรก็ตาม ปัจจัยดังกล่าว ที่ส่งให้ประเทศก้าวจากการเป็นประเทศรายได้ต่ำมาเป็นประเทศรายได้ปานกลาง อาจไม่เพียงพอ ที่จะทำให้ประเทศก้าวสู่การเป็นประเทศรายได้สูง..
และในปี 2006 World Bank ก็ได้นิยามปัญหานี้ว่า “Middle Income Trap”
เพื่อให้เข้าใจว่า อะไรบ้างที่เป็นปัจจัยของปัญหา กับดักรายได้ปานกลางนี้
เราลองมาดูตัวอย่างหลายปัจจัย จากหลายประเทศกัน..
ต้นทศวรรษ 1950 ฟิลิปปินส์เป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่เริ่มพัฒนาภาคอุตสาหกรรมในประเทศ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และยกระดับฐานะความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศให้สูงขึ้น
แต่มาในวันนี้ รายได้ประชาชาติต่อหัวของฟิลิปปินส์ ยังอยู่ที่ประมาณ 120,500 บาทต่อปี ซึ่งยังถูกจัดอยู่ในประเทศรายได้ระดับปานกลาง
หนึ่งในอุปสรรคที่สำคัญของฟิลิปปินส์ คือการขาดนวัตกรรมที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า เพราะรัฐบาลของฟิลิปปินส์ให้ความสำคัญน้อย กับเรื่องการวิจัยและพัฒนา (R&D) ของประเทศ
ปี 2018 งบวิจัยและพัฒนาของฟิลิปปินส์ มีสัดส่วนเพียงแค่ 0.14% ของมูลค่า GDP ประเทศ ซึ่งถือว่าต่ำมาก เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยของโลกที่ 2.3%
ฟิลิปปินส์ยังมีปัญหาการคอร์รัปชันอย่างหนัก
ทำให้นโยบายการพัฒนาประเทศ ไม่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์นี้ ยังคงพบเห็นที่หลายประเทศในลาตินอเมริกา ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ บราซิล
บราซิล เป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในลาตินอเมริกา และใหญ่เป็นอันดับ 13 ของโลก
ทั้งยังเป็นประเทศที่มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะปริมาณสำรองน้ำมันดิบกว่า 12,999 ล้านบาร์เรล ติดอันดับที่ 20 ของโลก
ปี 1990 มูลค่าเศรษฐกิจของบราซิลเท่ากับ 14.4 ล้านล้านบาท
และเติบโตอย่างรวดเร็วจนสูงถึง 81.1 ล้านล้านบาท ในปี 2011
หรือเติบโตเกือบ 5 เท่า ภายในระยะเวลาเพียง 21 ปี
จนทำให้บราซิล เคยถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว และน่าจับตามองที่สุดประเทศหนึ่ง
แต่นับจากปี 2011 มา มูลค่า GDP ของบราซิล ก็ไม่กลับไปสู่จุดนั้นอีกเลย..
บราซิลยังเป็นประเทศที่เศรษฐกิจพึ่งพาภาคการส่งออก
ซึ่งสินค้าส่วนใหญ่ยังเป็นสินค้าโภคภัณฑ์ ที่ความผันผวนของราคาสินค้าส่งออก มักส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของบราซิล
นอกจากนั้น บราซิลยังประสบปัญหาความไม่มีเสถียรภาพของรัฐบาล และปัญหาการคอร์รัปชัน ซึ่งทำให้ต้นทุนในการทำธุรกิจมีสูง เพราะธุรกิจต้องใช้เส้นสายและจ่ายส่วนแบ่งให้ผู้มีอำนาจ
ซึ่งปัญหาเรื่องความไม่โปร่งใสนี้ ก็ได้กลายเป็นอุปสรรคต่อการดึงดูดเงินลงทุนต่างชาติเข้าไปยังประเทศด้วยเช่นกัน
วันนี้รายได้ประชาชาติต่อหัวของบราซิล อยู่ที่ 284,800 บาทต่อปี ซึ่งยังไม่สามารถก้าวข้ามจากกับดักรายได้ปานกลางไปได้
สำหรับประเทศไทย เราถูกเลื่อนเป็นประเทศที่มีรายได้น้อย มาสู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลางตั้งแต่ปี 1976
และจุดเปลี่ยนสำคัญของเศรษฐกิจไทย ก็เกิดขึ้นไม่นานหลังจากนั้น หลังจากเริ่มมีการเข้ามาลงทุนจากต่างประเทศ โดยเฉพาะนักลงทุนจากญี่ปุ่น
เนื่องจากญี่ปุ่นในตอนนั้น ได้รับผลกระทบจากการเข้าทำข้อตกลง Plaza Accord กับสหรัฐอเมริกา โดยการลงนามในข้อตกลงดังกล่าว ส่งผลให้ค่าเงินเยนของญี่ปุ่นแข็งค่าขึ้นอย่างมากและรวดเร็ว
เมื่อเงินแข็งค่าขึ้นจากเดิมมาก ภาคการส่งออกของญี่ปุ่นก็ประสบปัญหา เพราะราคาส่งออกสินค้าแพงขึ้นกว่าเดิมมาก ญี่ปุ่นต้องมองหาฐานการผลิตแห่งใหม่ ที่มีค่าแรงถูกและมีข้อได้เปรียบด้านการส่งออก และแน่นอนว่าประเทศที่ได้อานิสงส์จากตรงนี้ ก็คือ ประเทศไทย
นอกจากเศรษฐกิจไทยจะเติบโตจากการเป็นฐานการผลิตสำคัญแล้ว
ภาคการท่องเที่ยว ก็ก้าวขึ้นมามีบทบาทมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะช่วง 10 ปีที่ผ่านมา
จากการเข้ามาของนักท่องเที่ยวจีนที่เติบโตแบบก้าวกระโดด จากการที่ชนชั้นกลางของจีน มีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และนิยมเดินทางไปท่องเที่ยวต่างประเทศ รวมถึงเดินทางมาไทย
แต่อย่างไรก็ตาม ทั้งหมดนี้ ก็ยังไม่เพียงพอจะทำให้ไทยเราหลุดพ้นกับดักรายได้ปานกลางนี้
เพราะในปี 2019 ประเทศไทย ยังมีรายได้ประชาชาติต่อหัวอยู่ที่ 226,500 บาทต่อปี
ทำให้ไทย ยังคงจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ปานกลาง มาเป็นเวลากว่า 45 ปีแล้ว
แล้วประเทศที่สามารถหลุดพ้นกับดักรายได้ปานกลางนี้ เขาทำกันอย่างไร ?
ลองมาดูตัวอย่างใกล้ตัวเรา คือ ไต้หวัน ที่วันนี้มีรายได้ประชาชาติต่อหัวอยู่ประมาณ 830,000 บาทต่อปี อยู่ในกลุ่มประเทศรายได้สูงเรียบร้อยแล้ว
จุดเปลี่ยนที่ทำให้ไต้หวันพัฒนาอย่างก้าวกระโดด คือการที่ภาครัฐส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้าของไต้หวัน
ในปี 1973 รัฐบาลไต้หวัน ได้ให้ก่อตั้ง Industrial Technology Research Institute (ITRI)
ซึ่ง ITRI มีการร่วมทุนกับบริษัทฟิลิปส์ของเนเธอร์แลนด์ ทำให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตชิป จนทำให้ ITRI ได้พัฒนากระบวนการผลิตชิปเป็นของตัวเอง
และนำมาสู่การก่อตั้งบริษัทที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของไต้หวัน ในปี 1987
ซึ่งบริษัทนั้นก็คือ Taiwan Semiconductor Manufacturing Company (TSMC) นั่นเอง
ปี 2020 TSMC มีรายได้สูงกว่า 1.5 ล้านล้านบาท ขณะที่กำไรสุทธินั้น สูงกว่า 572,000 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นอัตรากำไรสุทธิสูงกว่า 38% สะท้อนถึงการที่บริษัทสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าได้สูงมาก
ไต้หวันยังมีการทุ่มทุนด้านการวิจัยและพัฒนาอย่างหนัก
โดยงบประมาณ R&D คิดเป็นสัดส่วนสูงถึง 3.3% ของ GDP ในปี 2017
ซึ่งถือว่ามากเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก
การที่ไต้หวันก้าวข้ามจากกับดักรายได้ปานกลางได้
ที่เห็นได้ชัด ก็มาจากการให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนา
โดยเฉพาะกับอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ ที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้ประเทศได้อย่างมหาศาล
ถึงตรงนี้ ถ้าเรามองโดยภาพรวมแล้วจะเห็นว่า กับดักรายได้ปานกลาง ที่หลายประเทศรวมถึงไทยกำลังพบเจอ มีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยด้วยกัน
เช่น การที่ยังเป็นฐานการผลิตและส่งออกสินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจไม่สูงมากพอ ยังไม่ค่อยมีนวัตกรรมเป็นของตัวเอง รวมไปถึงปัญหาสำคัญอย่างการคอร์รัปชัน และความไม่มีเสถียรภาพทางด้านการเมือง
และถ้าเราดูตัวอย่าง ประเทศที่สามารถก้าวผ่านกับดักรายได้ปานกลางมาได้ อย่างเช่น ไต้หวัน
ปัจจัยสำคัญคือ การลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ เพื่อคิดค้นและพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ จนสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มมหาศาลให้กับสินค้าและบริการของประเทศได้
แน่นอนว่า การที่จะทำแบบนั้นได้ ต้องมีการร่วมมือกันทั้งภาครัฐและภาคเอกชน และอีกหลาย ๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งถ้ามาวางแผนกันดี ๆ แล้วส่งเสริมเรื่องนี้กันให้ถูกจุด
สุดท้ายแล้ว มันก็คงไม่ใช่เรื่องที่เป็นไปไม่ได้
ที่เราจะหลุดพ้น จากกับดักรายได้ปานกลางนี้ไปได้..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/DocLib_/Article_7Nov2017.pdf
-https://en.wikipedia.org/wiki/Middle_income_trap
-https://admuaea.org/2019/03/27/philippine-economy-headed-for-the-middle-income-trap/
-https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_proven_oil_reserves
-https://knowledge.ckgsb.edu.cn/2019/05/23/chinese-economy/china-middle-income-trap/
-https://www.globalasia.org/v8no1/focus/taiwans-middle-income-trap-no-escaping-without-services_chen-tain-jy
-https://finance.yahoo.com/quote/TSM/
-https://en.wikipedia.org/wiki/Economy_of_Brazil
-https://data.worldbank.org/indicator/NE.EXP.GNFS.ZS?locations=BR
-https://blogs.worldbank.org/opendata/new-world-bank-country-classifications-income-level-2020-2021
-https://eng.stat.gov.tw/point.asp?index=1
china gdp per capita 2019 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
กรณีศึกษา วิกฤติหนี้ ของประเทศลาว /โดย ลงทุนแมน
ที่ผ่านมา เราอาจได้ยินเรื่องราววิกฤติหนี้สินของหลายประเทศ
แต่ประเทศหนึ่งที่หลายคนอาจจะไม่ได้นึกถึง ก็คือ ประเทศลาว
รู้ไหมว่า ในตอนนี้ ประเทศลาวกำลังเจอกับปัญหาหนี้สินของประเทศที่พุ่งสูง...
Continue ReadingLaos debt crisis case study / by investment man
In the past, we may hear about the debts crisis of many countries.
But one country that many people may not have thought about is Laos.
Did you know Laos is currently facing a high-rise debt problem?
So that I can't pay creditors in time.
How does this impact on Laos?
Investment man will tell you about it.
╔═══════════╗
Blockdit is a platform of source of thinkers
Helping to update the situation in video article formats
Including the podcast to listen to on the go.
Try it out at Blockdit.com/download
╚═══════════╝
Laos People's Democracy Republic
There are 236,800 square kilometers.
Think about half of Thailand's area.
2019 Laos worth GDP is 603,000 million baht. It's the world's number 112
At the moment, Laos population is around 7.1 million people and the average income per capita. The population is 85,000 baht per year, which is lower than many Asian countries.
But if I look back, I will see that.
During 2010-2019, Laos had an estimated GDP growth rate of 7 %
Increase the average income per capita of Laos people in the last 10 years.
However, Laos's economic growth.
Followed by the debt burden of public sector from loans to projects.
And when the COVID-19 outbreak occurred.
It makes the public sector lower income than before
Both proceeds from exports, taxation and tourism sector
Make the government more income to spend on essentials with more loans.
When this happens, the proportion of public debt to GDP in Laos has risen to the highest in 13 years.
Year 2010 Laos's public debt burden is equal to 115,000 million Baht. Considering 49 % of GDP.
Year 2020 Laos's public debt burden is equal to 393,000 million Baht. Considering 65 % of GDP.
With debt burden increasing, while Laos's international reserves is reduced to just 26,000 million baht, making Laos's financial status worrisome.
Also, international reserves decrease.
Investors lack of faith in Laos also follow.
To this place, many people may wonder what the previous Laos government loaned to do.
What has caused public debt in recent years to rise dramatically?
Before answering this question
Let's understand the geographical characteristics of Laos first.
Even if Laos is a country without a way out to sea.
But most areas are mountainous and plateau districts.
Which constitutes many important rivers.
By terrain, this looks like 3 in 4 of the total Laos area.
When it's like this, it makes Laos.
Potential to produce electricity with water energy.
Laos government has therefore placed the country's status as ′′ Battery of Asia
And lots of loan to push the building of water power dams.
In addition, Laos also values and supports China's One Belt One Road project.
This will make Laos easier to connect with other countries in the region.
Specifically, Laos-China railway line project worth more than 187,000 million Baht.
I would have guessed it by now
The person who gives loan to Laos most is ′′ China ′′
Only debt that Laos government borrowed from China
Worth up to 271,000 million baht.
This amount of money is over 45 % of Laos GDP.
When the COVID-19 outbreak occurred.
Poor that Laos may not be able to pay back the debt on schedule.
The Laos government therefore has to negotiate with the Chinese government as a major creditor.
To restructure the loan debt
One of the deals between Laos and Chinese government.
Well, Laos Government has to sell shares of Electricity Wholesale Business of Laos (EDL) which is Laos's Electricity Enterprise.
Give to China Southern Power Grid that is the major electrical enterprise of Chinese government.
From this story, I will see.
Excessive debt is high risk.
If one day can't pay back the debt on schedule
We may have to exchange with the loss of our important debtor to the creditor.
Like in this case of Laos..
╔═══════════╗
Blockdit is a platform of source of thinkers
Helping to update the situation in video article formats
Including the podcast to listen to on the go.
Try it out at Blockdit.com/download
╚═══════════╝
Follow the investment man at
Website - longtunman.com
Blockdit-blockdit.com/longtunman
Facebook-@[113397052526245:274: lngthun mæn]
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram-instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://thediplomat.com/2020/09/laos-stumbles-under-rising-chinese-debt-burden/
-https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_GDP_(nominal)
-https://www.theglobaleconomy.com/Laos/reserves_monthly/
-https://countryeconomy.com/national-debt/laos
-https://www.ft.com/content/dc3f5981-4fd9-4e3a-9824-5b9ddf70735e?sharetype=blocked
-https://www.voanews.com/east-asia-pacific/analysts-rising-debt-burden-could-make-laos-more-reliant-china
-https://data.worldbank.org/country/LA
-http://www.xinhuanet.com/english/2020-08/07/c_139273117.htm
-https://tradingeconomics.com/laos/government-debt-to-gdp
-https://thailandtribune.com/financially-strapped-laos-partners-with-chinese-company-to-manage-power-grid/
-https://en.wikipedia.org/wiki/%C3%89lectricit%C3%A9_du_LaosTranslated
china gdp per capita 2019 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
กรณีศึกษา คูเวต ประเทศที่ รวยน้ำมัน แต่เงินกำลังจะหมด /โดย ลงทุนแมน
คูเวต ประเทศหนึ่งในภูมิภาคตะวันออกกลาง
ที่ร่ำรวยจากการครอบครองทรัพยากรน้ำมันมาเป็นเวลานาน
แต่รู้ไหมว่า ในวันนี้ คูเวตกำลังเจอปัญหาใหญ่...
Continue ReadingKuwait case study. Oil rich country but money is running out / by investman
Kuwait, one country in the Middle East region.
Rich from occupying oil resources for a long time.
But you know, Kuwait is in big trouble today.
Well, the country's reserve funds are running out.
What happened to Kuwait? Invest man will tell you about it.
╔═══════════╗
Blockdit is a platform of source of thinkers.
Help to update the situation in video article format.
Including podcasts to listen to on the go.
Try it out at Blockdit.com/download
╚═══════════╝
Kuwait is an Asian country in the Middle East region.
Which is an abundance of oil resources.
In 2019, Kuwait had a GDP value of 4.3 trillion baht and a population of 4.4 million people.
Make GDP per capita of Kuwait population equal to 977,000 baht.
4 times more than GDP per head of Thai people.
Kuwait has an area of 17,818 square kilometers, which is about 30 times smaller than Thailand.
Despite being the world's 152th small country.
But Kuwait is the world's 6th most crude resource country.
And one of the country members who expired oil (OPEC)
Kuwait has a crude oil reserves up to 101,500 million barrels. This amount is estimated to be 6 % of the world's crude oil reserves.
If crude oil prices are around $ 40 per barrel, Kuwait's crude oil reserves will be worth 128 million baht.
When things are like this, it means
Oil resources are highly important to Kuwait economy.
Year 2019 Kuwait's crude export revenue is worth 1.5 trillion baht.
In which such value is considered.
90 % of Kuwait's total export income
90 % of Kuwait government income
And 35 % of GDP, Kuwait
In 2016
Anas Al-Saleh, Kuwait's finance minister in those days, warns the government to lower the country's expenditure budget to be prepared for a moment when petrol prices will fall in the future.
But his warning is right. Many people laugh at me.
Because most people believe that the country will continue to earn massive oil exports income.
After that, come on
During the 2016-2018 s, crude oil prices continue to adapt.
It's something that makes many people confident that Anas Al-Saleh warnings won't happen.
But then the emergence of the trade war between US and China in 2019 begins to pressure the global oil demand to slow down.
And the incident started worse than that
When the world later, the COVID-19 outbreak begins.
Plague plague making global travel and production drops.
The global oil demand is reduced from the same.
Besides, there's a fuel war between Saudi Arabia and Russia that both of them won't reduce their production capacity. The oil prices are increasingly adapting.
2018 Dubai crude oil prices average $ 70 per barrel
2019 Dubai crude oil prices average $ 64 per barrel
While the first 6 months of 2020, the average Dubai crude price is only $ 41 per barrel.
What happens is income from crude oil exports
90 % of Kuwaiti government income is greatly reduced.
Make the government not enough money to pay for public sector employers.
At present, more than 80 % of Kuwait people, or around 3.5 million people work as government employees.
Make government spend money in country's reserve funds during the 3 months after COVID-19 outbreak. The fund has gone down to over 411,000 million baht.
Which if crude oil prices don't rise from the same.
It will only make Kuwait government pay for public sector employees until November this year.
Enough is like this next year, Kuwait government needs to make a budget deficit.
Which will cause budget deficit to the level of 1.4 trillion baht
Thinking about a deficit, increasing almost 3 times more than the 2019-2020 fiscal year.
And the budget deficit is the 7th year in a row since 2014
What's worrisome is if the government needs to borrow money.
Among lower oil prices, Kuwait may earn enough oil export income to pay back the loan.
Make it now Kuwait has to have a concept of country reform.
Under Vision 2035 slogan: New Kuwait
The point is that it's important to try to reduce oil industry revenue reliance on revenue.
Which is to follow how much Kuwait's long-term plan this time will accomplish.
From this story preview of Kuwait country
It's something to remind us whether it's a country, corporation or individual.
Being too dependent on income in any way is a high risk.
Like this case, Kuwait relies on income from crude oil exports up to 90 % of export income.
If one day the main income drops or disappears.
From a long time ago, I might lose money easily too..
╔═══════════╗
Blockdit is a platform of source of thinkers.
Help to update the situation in video article format.
Including podcasts to listen to on the go.
Try it out at Blockdit.com/download
╚═══════════╝
Follow up to invest manly at
Website - longtunman.com
Blockdit-blockdit.com/longtunman
Facebook-@[113397052526245:274: lngthun mæn]
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram-instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://www.pionline.com/economy/oil-rich-kuwait-running-out-cash
-https://oilprice.com/Energy/Energy-General/Kuwait-Is-Running-Out-Of-Money-To-Pay-Public-Salaries.html
-https://www.middleeastmonitor.com/20200820-kuwait-will-not-be-able-to-pay-salaries-after-november/
-https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_and_dependencies_by_area
-https://en.wikipedia.org/wiki/Kuwait
-https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_proven_oil_reserves
-https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_GDP_(nominal)
-http://www.worldstopexports.com/kuwaits-top-10-exports/
-https://fanack.com/kuwait/economy/
-https://www.eia.gov/dnav/pet/hist/LeafHandler.ashx?n=PET&s=RBRTE&f=M
- Form 56-1 Year 2562, Thai Oil Public Company Limited
-https://www.set.or.th/dat/news/202008/20088082.pdfTranslated
china gdp per capita 2019 在 China's GDP per capita passed $10,000 in 2019 ... - YouTube 的推薦與評價
China's GDP per capita reached 70892 yuan (10276 U.S. dollars) in 2019, passing the 10000 U.S. dollars benchmark as the country continues to ... ... <看更多>