馬雲和阿里經過敲打終交出10億消費者數據與浙江國企合資。 #馬雲 #阿里 #螞蟻 #消費者數據 #信用評級
The partners plan to establish a personal credit-scoring firm to handle Ant's treasure trove of data on over 1 billion consumers, said the people, adding that its ownership structure could help revive Ant's blockbuster initial public offering (IPO) which regulators put a stop to with just two days to go.
Under the plan, Ant and Zhejiang Tourism Investment Group Co Ltd will each own 35% of the venture, while other state-backed partners include Hangzhou Finance and Investment Group and Zhejiang Electronic Port, said one of the people.
They aim to establish what would be China's third private credit-scoring firm as soon as October, two of the people said.
同時也有4部Youtube影片,追蹤數超過14萬的網紅經濟一週 EDigest,也在其Youtube影片中提到,簡志健分析兩隻屈機美股:貝殼找房(BEKE )、東南亞小騰訊-SEA(SE)!呢兩隻美股一直都被睇好,但業務有冇咩暗湧呢?中長線又有咩優勢? ▼▼影片重點▼▼ 00:00 兩隻屈機美股分析 憧憬貝殼、SE超強增長 00:18 反轉中國地產市場 貝殼有乜咁把炮? 02:19 杜絕假盤兼玩大數據 難以...
「fintech stock」的推薦目錄:
- 關於fintech stock 在 許文昌 Man-cheong Facebook 的精選貼文
- 關於fintech stock 在 通勤十分鐘 On The Way To Work Facebook 的最佳解答
- 關於fintech stock 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
- 關於fintech stock 在 經濟一週 EDigest Youtube 的最讚貼文
- 關於fintech stock 在 志祺七七 X 圖文不符 Youtube 的最佳解答
- 關於fintech stock 在 Kokee講 Youtube 的最佳貼文
- 關於fintech stock 在 3 Top Stocks to Buy Now - High Growth Fintech Stocks 的評價
fintech stock 在 通勤十分鐘 On The Way To Work Facebook 的最佳解答
線上證券交易App Robinhood以推動所謂的Meme Stock迷因股票(例如GameStop和AMC)的崛起而聞名,這些股票在今年早些時候飆升,飆升的原因不一定是因為業務基本面的表現,而是社群媒體的用戶覺得這些東西十分有趣。
甚至在上週IPO之前,投資者就想要知道說,Robinhood自己本身會不會也成為一支迷因股票?
到目前為止,這答案似乎是肯定的,在首日交易時股價下跌後,Robinhood的股價截至昨天為止本周上漲了100%,其中昨天更是上漲了50%,交易的非常熱絡,以至於在昨天該股不得不暫停交易好幾次,華爾街才能喘口氣。
fintech stock 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
บริษัทเทคโนโลยี กำลังเจอศึกรอบด้าน /โดย ลงทุนแมน
หลายปีที่ผ่านมา หลายคนคงได้เห็นการดิสรัปต์ของบริษัทเทคโนโลยีรุ่นใหม่
ที่ได้ส่งผลกระทบรุนแรง จนบริษัทยักษ์ใหญ่ดั้งเดิมบางแห่งปรับตัวไม่ทัน
เช่น Netflix บริการดูหนังสตรีมมิง ที่เข้ามาทดแทนการเช่าแผ่นซีดีจากร้าน Blockbuster
หรือ Facebook เครือข่ายสังคมออนไลน์
ที่เข้ามาแย่งส่วนแบ่งเม็ดเงินค่าโฆษณามหาศาล
และสามารถทำรายได้จากค่าโฆษณาระดับ 8 แสนล้านบาทต่อปี
ธุรกิจเหล่านี้ ทำให้หลายบริษัทในอุตสาหกรรมดั้งเดิมอย่างหนังสือพิมพ์และโทรทัศน์
ได้รับผลกระทบโดยตรง และหลายรายก็ต้องล้มหายตายจากไป
แม้ว่าเมื่อก่อน บริษัทเหล่านี้จะดิสรัปต์ธุรกิจเดิมจนก้าวขึ้นมาเป็นยักษ์ใหญ่ในปัจจุบัน
แต่สถานการณ์ตอนนี้ ดูเหมือนกับว่าบริษัทที่กล่าวมาทั้งหมด
มีขนาดใหญ่จนหลายธุรกิจทับซ้อนกันและกำลังแข่งขันกันเอง
แล้วความท้าทายที่บริษัทเทคโนโลยีต้องเจอ มีอะไรบ้าง ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ช่วงแรกสำหรับการเติบโตของบริษัทเทคโนโลยี
ส่วนใหญ่จะเป็นการเข้ามาชิงส่วนแบ่งตลาดภายในอุตสาหกรรมเดิม
ด้วยการหาสินค้าและบริการที่ช่วยแก้ปัญหาให้ผู้บริโภคในส่วนที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข
และด้วยความที่เป็นบริษัทเทคโนโลยี การขยายธุรกิจจึงทำได้อย่างรวดเร็ว
พอถึงจุดหนึ่ง พบว่าตัวเองได้กลายเป็นบริษัทขนาดยักษ์ในอุตสาหกรรมเสียแล้ว
สะท้อนมาจากบริษัทที่มีมูลค่ามากที่สุด 5 อันดับแรกของโลก
อันดับที่ 1 Apple
อันดับที่ 2 Microsoft
อันดับที่ 3 Saudi Aramco
อันดับที่ 4 Amazon
อันดับที่ 5 Alphabet เจ้าของ Google และ YouTube
จะเห็นได้ว่าจาก 4 ใน 5 บริษัทเป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีทั้งสิ้น
และหากเราไปดูอัตราการเติบโตของบริษัทเหล่านี้ ก็จะเรียกได้ว่าเติบโตแบบก้าวกระโดด
คำถามต่อมาคือ บริษัทควรจะทำอย่างไรต่อ
ในเมื่อธุรกิจเริ่มใหญ่ขึ้น แต่มีทรัพยากรให้ใช้อีกมากมาย
คำตอบที่ได้ จึงเป็นการข้ามไปแข่งขันในอุตสาหกรรมอื่น
โดยการใช้ Ecosystem ของตัวเองให้เป็นประโยชน์ นั่นจึงกลายเป็นที่มาว่า
ทำไมเหล่าบริษัทเทคโนโลยีหลังจากสำเร็จแล้ว ก็จะเริ่มเข้าไปแข่งขันกันเอง
เช่น Facebook ที่เริ่มต้นจากการเป็นแพลตฟอร์มสังคมออนไลน์
ซึ่งเมื่อก่อนนั้นมีรายได้จากค่าโฆษณาที่เป็นรูปภาพและตัวอักษรเท่านั้น
แต่บริษัทเองเห็นว่าโฆษณาแบบเดิมใหญ่มากแล้ว
จึงต้องหาช่องทางรายได้เพิ่มเติม
และพบว่าโฆษณาวิดีโอสามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้นอีกเยอะ
Facebook ขยับมาสู่การสร้าง Ecosystem ให้กับเหล่าผู้ผลิตคอนเทนต์วิดีโอ
โดยมีฐานผู้ใช้งานในมือหลายพันล้านบัญชีอยู่แล้ว
การที่ Facebook เข้ามาทำแบบนี้ ก็ถือเป็นการเข้ามาแย่งส่วนแบ่งและเป็นการแข่งขันกับ YouTube ทันที
และในช่วงไม่กี่ปีมานี้ Facebook ได้เพิ่มฟังก์ชันใหม่ขึ้นมาคือ Marketplace รวมถึง Dating
แสดงให้เห็นว่าทางบริษัทกำลังขยายธุรกิจไปสู่อุตสาหกรรมอื่นเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จึงไม่ใช่เรื่องน่าแปลกใจเลยที่ว่าทำไมสุดท้ายบริษัทเทคโนโลยีต่างต้องแข่งขันกัน
หรืออย่างบริษัท SEA เองที่เริ่มต้นจากการทำธุรกิจ Garena ผู้ให้บริการแพลตฟอร์มเกม
แต่ต่อมาก็ได้รุกเข้าสู่ตลาดอีคอมเมิร์ซ ด้วยแพลตฟอร์ม Shopee
และขณะนี้บริษัทก็เริ่มจริงจังกับธุรกิจการเงินอย่าง AirPay ซึ่งเพิ่งเปลี่ยนชื่อเป็น ShopeePay
Alibaba และ Tencent ในประเทศจีนก็ไม่ต่างกัน
แม้ว่าเริ่มแรกทั้งคู่จะทำธุรกิจไม่เหมือนกัน
Alibaba เริ่มจากการเป็นอีคอมเมิร์ซ
Tencent เน้นเกมออนไลน์และแอปพลิเคชัน WeChat
แต่ภายหลัง Alibaba และ Tencent กำลังเข้ามาแข่งธุรกิจในพื้นที่เดียวกันทั้งทางอ้อมและทางตรง
ในปี 2013 Alibaba มีส่วนแบ่งธุรกิจอีคอมเมิร์ซที่ 62%
แต่ปีที่แล้วกลับลดลงเหลือเพียง 51%
เหตุผลสำคัญก็เพราะว่าการเติบโตของ Pinduoduo และ JD.com
อีคอมเมิร์ซที่ได้รับเงินระดมทุนจาก Tencent กำลังเข้ามาชิงส่วนแบ่งตลาดอย่างมีนัยสำคัญ
โดยเฉพาะ Pinduoduo ที่สามารถเติบโตได้อย่างก้าวกระโดด
หากย้อนกลับไปในปี 2018 Pinduoduo มียอดขายคิดเป็นราว 4% ของ Alibaba เท่านั้น
แต่ในปีที่ผ่านมา ยอดขายของ Pinduoduo ขยับมาเป็น 10% ของ Alibaba เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
นอกจากนี้ Alipay กับ WeChat Pay ของ Tencent
ก็ยังแข่งขันกันในธุรกิจกระเป๋าเงินดิจิทัลโดยตรง อีกด้วย
ซึ่งนอกจากการแข่งขันกันในเชิงธุรกิจแล้ว
กฎเกณฑ์ข้อบังคับระหว่างบริษัทก็เริ่มมีการควบคุมที่เพิ่มมากขึ้น
ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการป้องกันข้อมูลบัญชีผู้ใช้งาน
ในกรณีของ Apple ก็ได้ให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกได้ว่าจะทำการป้องกันการเข้าถึงข้อมูลของตนจากแพลตฟอร์มโซเชียลอย่าง Facebook หรือไม่
จุดนี้จะทำให้ประสิทธิภาพของโฆษณาบน Facebook ลดลงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
อีกความท้าทายที่เห็นได้ชัดก็ยังมีเรื่องของ การกลับมาของบริษัทยักษ์ใหญ่เดิม
หลังจากที่เหล่าบริษัทยักษ์ใหญ่ดั้งเดิม
โดนบริษัทเทคโนโลยีน้องใหม่เข้ามาดิสรัปต์เป็นเวลานาน
บางบริษัทที่สามารถปรับตัวและอยู่รอดได้
ก็เหมือนจะกำลังรุกกลับและปรับตัวให้เข้าแข่งขันได้อีกครั้ง
อย่าง Disney เองหลังจากปล่อยให้ Netflix
นำคอนเทนต์ของทางบริษัทไปให้บริการอยู่ในช่วงเวลาหนึ่ง
ปัจจุบัน Disney ก็ได้ลุกขึ้นมาพัฒนาธุรกิจสตรีมมิงเป็นของตัวเอง
จนกลายมาเป็นแพลตฟอร์มสตรีมมิงที่เรียกว่า “Disney+”
ที่เติบโตแบบก้าวกระโดด จนตอนนี้มีผู้สมัครใช้บริการ 100 ล้านคนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
สำหรับจุดแข็งของบริษัทเก่าแก่ขนาดใหญ่ ก็คือ ความสามารถในการเข้าถึงเงินทุนและฐานะทางการเงินที่มั่นคง
ในกรณีของ Disney ที่มีหนี้สินระยะยาวต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเพียง 0.5 เท่า
ในขณะที่ Netflix มีหนี้ระยะยาวต่อทุนสูงถึง 1.4 เท่า
สะท้อนให้เห็นว่า Disney ยังมีความสามารถในการจัดหาเงินทุนเพื่อขยายกิจการได้อีกมากในอนาคต
นอกจากนี้ Disney ยังมี Ecosystem ที่ครบวงจรอีกด้วย
เช่น สวนสนุก โรงแรม สื่อต่าง ๆ อย่าง ABC ซึ่งเป็น 1 ใน 6 ช่องฟรีทีวีใหญ่ที่สุดในสหรัฐฯ
รวมถึงลิขสิทธิ์ต่าง ๆ อีกมากมาย ทั้ง Marvel, Star Wars และ Pixar
และสิ่งเหล่านี้จะช่วยส่งเสริมให้ธุรกิจยิ่งแข็งแกร่งขึ้นไปอีก
จากตรงนี้ ก็ดูเหมือนว่าตอนนี้ Netflix อาจจะเจอกับการตีกลับครั้งใหญ่เข้าให้แล้ว
นอกจากอุตสาหกรรมภาพยนตร์แล้ว
อุตสาหกรรมค้าปลีกและค้าส่งก็เป็นเช่นเดียวกัน
ด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบัน ทำให้เหล่าค้าปลีกแบบดั้งเดิม
อย่างบริษัทยักษ์ใหญ่ Walmart สามารถเข้ามาตีตลาดผ่านช่องทางออนไลน์ได้ง่ายขึ้น
ถือเป็นเรื่องน่ากังวลที่เหล่าบริษัทเทคโนโลยีต้องรับมือกับบริษัทยักษ์ใหญ่ดั้งเดิม
ที่มีความได้เปรียบทั้งด้านฐานะการเงินของบริษัทและ Ecosystem เดิมของตน
ศึกรอบด้านของบริษัทเทคโนโลยียังไม่ได้หมดเพียงแค่นี้
เพราะ “กฎหมายของแต่ละประเทศ” ก็เป็นอีกประเด็นที่เริ่มถูกพูดถึงกันมากขึ้น
นั่นก็เพราะว่าบริษัทเทคโนโลยีหลายแห่งใหญ่จนเรียกได้ว่าผูกขาด
อุตสาหกรรมนั้นไปโดยปริยาย ซึ่งในช่วงที่ผ่านมาหลายประเทศทั่วโลก
ก็เริ่มเข้ามาออกเกณฑ์การควบคุมเพื่อลดปัญหาดังกล่าว
เช่น สหภาพยุโรปกำลังตรวจสอบอำนาจการผูกขาดของเหล่าบริษัทเทคโนโลยีขนาดใหญ่
ประเทศออสเตรเลียเองก็เพิ่งออกกฎหมายบังคับให้บริษัทเทคโนโลยีต้องจ่ายเงิน
สำหรับการแชร์เนื้อหาข่าวสารต่าง ๆ
ทางฝั่งประเทศจีน รัฐบาลกำลังเข้ามาควบคุมการผูกขาดของบริษัทเทคขนาดใหญ่เช่นกัน
เช่น Alibaba ที่เพิ่งถูกรัฐบาลสั่งปรับเงินครั้งที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์จีน
คิดเป็นมูลค่าความเสียหายราว 8.8 หมื่นล้านบาท
จากการที่ Alibaba บังคับให้เหล่าร้านค้าในแพลตฟอร์มของตน ไม่สามารถไปขายกับแพลตฟอร์มอื่นได้
ย้อนกลับไปก่อนหน้านั้น ก็ยังมีเรื่องของ Ant Group บริษัท Fintech ในเครือ Alibaba
ที่ถูกรัฐบาลสั่งระงับการ IPO จากการที่รัฐกลัวเสียอำนาจในการควบคุมธุรกิจการเงินในประเทศ
นอกจากนี้ บริษัทเทคโนโลยีอื่น ๆ ที่กำลังโดนรัฐบาลไล่ตรวจสอบเรื่องการผูกขาด
ก็ยังมี Tencent, ByteDance, JD.com และอื่น ๆ อีกมากมาย รวมแล้วถึง 34 บริษัทเลยทีเดียว
จากเรื่องราวทั้งหมดนี้จะเห็นได้ว่าบริษัทเทคโนโลยีในตอนนี้
นอกจากจะต้องแข่งขันกันเองแล้ว ก็ยังต้องมาเผชิญกับธุรกิจดั้งเดิม
ที่สามารถปรับตัวและกลับเข้ามาร่วมแข่งขัน
รวมถึงกฎเกณฑ์จากทางภาครัฐในแต่ละประเทศ เช่นกัน
ก็ดูเหมือนว่า เหตุการณ์เหล่านี้ไม่ใช่เพียงผลกระทบระยะสั้นเหมือนกับโรคระบาดที่มาแล้วก็ไป
แต่อาจจะกลายมาเป็นศึกรอบทิศทางของบริษัทเทคโนโลยี
ที่ยังไม่รู้ว่าจะต้องใช้เวลาเท่าไร กว่าศึกนี้จะจบลง..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://backlinko.com/disney-users
-https://www.economist.com/business/2021/02/27/the-new-rules-of-competition-in-the-technology-industry
-https://www.jitta.com/stock/nasdaq:pdd/factsheet
-https://www.jitta.com/stock/nyse:baba/factsheet
-https://www.bloomberg.com/news/articles/2021-04-10/china-fines-alibaba-group-2-8-billion-in-monopoly-probe
-https://www.jitta.com/stock/nasdaq:nflx/financial
-https://www.jitta.com/stock/nyse:dis/financial
-https://www.economist.com/business/2021/05/20/how-to-thrive-in-the-shadow-of-giants
fintech stock 在 經濟一週 EDigest Youtube 的最讚貼文
簡志健分析兩隻屈機美股:貝殼找房(BEKE )、東南亞小騰訊-SEA(SE)!呢兩隻美股一直都被睇好,但業務有冇咩暗湧呢?中長線又有咩優勢?
▼▼影片重點▼▼
00:00 兩隻屈機美股分析 憧憬貝殼、SE超強增長
00:18 反轉中國地產市場 貝殼有乜咁把炮?
02:19 杜絕假盤兼玩大數據 難以複製另一隻貝殼
03:27 電商、遊戲、金融科技通殺 SE由東南亞打到南美
#美股 #左暉 #騰訊 #食雞 #BEKE #SE #貝殼找房 #東南亞騰訊 #簡志健 #中原博立 #經人觀點 #ED_E #中國地產 #潛力股 #增長股 #投資 #手遊 #電商 #蝦皮 #shopee #淘寶
成為會員即送追揸沽貼士:
https://www.youtube.com/channel/UCGw6s7FZV9AOwznWA-_Bt3Q/join
▼▼查看更多▼▼
?下載全新《經濟一週》App ,盡享足本內容及獨家投資分析:http://p.nmg.com.hk/ackx09
全新聲音節目《經一開咪》:http://p.nmg.com.hk/cehuv1
喺屋企或喺辦公室都可以隨時聽,點擊收聽更多節目!
【經一拆局】► https://bit.ly/2MwYd4o
【Big Boss Theory】 ►https://bit.ly/2A3943e
【有樓生活】►https://bit.ly/2AJpCxm
【經一移民局】►https://bit.ly/2Y13Mxb
【理財真人Show】►https://bit.ly/3ePSVNb
追蹤《經濟一週》各大平台:
FB ►https://bit.ly/3cAI9J6
IG ►https://bit.ly/374j8Fq
TG ►https://t.me/edigesthk
Linkedin ►https://bit.ly/2XyvBO9
fintech stock 在 志祺七七 X 圖文不符 Youtube 的最佳解答
全新的線上課程《志祺的架構性思考:從資訊整理到觀點表達》募資中!
👉 課程募資連結: http://bit.ly/buy77class
我們最近跟「圖文不符上課囉」的夥伴們,一起製作了一門全新的線上課程,在裡面會將團隊的核心思考技術「架構性思考」,製成一門共 150 分鐘以上的完整課程!
內容包含了 3 大篇章,10 個單元,並且搭配大家熟悉的時事議題實際練習!讓大家一起學會架構性思考,並且放大應用到生活的各個面向!
👉 即日起,到 1 月 14 日之前買課的話,都可以享有 1,480 元、也就是原價 75 折的早鳥優惠;3 人同行,1 個人甚至只要 1,333 元就好。
🤔 那麼,誰適合這堂課呢?
💼 需要經常溝通,進行團隊工作的上班族
🏫 想精進邏輯與表達技巧,應用在學校和家庭的學生
👬 對社會有使命感、想為重大議題聲援的所有人
從日常與時事開始鍛鍊思考、精進表達能力,
就從《架構性思考》開始吧!
✔︎ 成為七七會員(幫助我們繼續日更,並享有會員專屬福利):http://bit.ly/shasha77_member
✔︎ 訂閱志祺七七頻道: http://bit.ly/shasha77_subscribe
✔︎ 追蹤志祺IG :https://www.instagram.com/shasha77.daily
✔︎ 來看志祺七七粉專 :http://bit.ly/shasha77_fb
✔︎ 如果不便加入會員,也可從這裡贊助我們:https://bit.ly/support-shasha77
(請記得在贊助頁面留下您的email,以便我們寄送發票。若遇到金流問題,麻煩請聯繫:service@simpleinfo.cc)
#馬雲 #螞蟻集團 #阿里巴巴
各節重點:
00:00 前導
01:07 線上課程「志祺的架構性思考」廣告段落
02:41 馬雲惹怒中國高層?
03:57 史上最大的螞蟻
05:03 被約談喊停的螞蟻上市案
06:07 中國官方擔心的是?
08:26 除了風險以外的其他原因?
10:43 我們的觀點
12:38 提問
13:06 結尾
【 製作團隊 】
|企劃:冰鱸
|腳本:冰鱸
|編輯:土龍
|剪輯後製:Pookie
|剪輯助理:歆雅、珊珊
|演出:志祺
——
【 本集參考資料 】
→Ant Founder Jack Ma Faces Backlash From Regulators:https://on.wsj.com/3q5RNdU
→China’s President Xi Jinping Personally Scuttled Jack Ma’s Ant IPO:https://on.wsj.com/39csMqM
→Is Jack Ma missing? The rumors alone represent a chilling new message from Beijing:https://bit.ly/3nqBPth
→Chinese Regulators Summon Ant Leaders Ahead of Gigantic IPO:https://on.wsj.com/2Ly5S50
→Jack Ma Makes Ant Offer to Placate Chinese Regulators:https://on.wsj.com/3q0AATb
→Ant’s Record IPO Suspended in Shanghai and Hong Kong Stock Exchanges:https://on.wsj.com/35luQLY
→馬雲外灘金融演講全文:「管」的能力很強 「監」的能力明顯不足:https://bit.ly/3nttipB
→馬雲外灘金融峰會演講全文:中國金融業還是青少年:https://bit.ly/2LDg5xi→王岐山:中国金融不能走投机赌博的歪路 不能走庞氏骗局邪路:https://bit.ly/39cZoAS
→四部门联合约谈蚂蚁集团有关人员:https://bit.ly/38rhxvu
→证监会新闻发言人就蚂蚁集团暂缓上市答记者问:https://bit.ly/38rSc4H
→螞蟻風暴後/中國金融問題讓螞蟻壯大 與監管磨合正開始:https://bit.ly/2L6W5TT
→兩個月無音訊 歐美媒體齊關注「馬雲去哪兒了?」:https://bit.ly/3bnAG3w
→馬雲近況:英國媒體發問 「馬雲哪兒去了?」:https://bbc.in/2ME4EFS
→真的出事了?馬雲下落不明 逾2個月未公開露面:https://bit.ly/39dWDiG
→馬雲講話引發高層憤怒,習近平親自叫停螞蟻IPO:https://bit.ly/2XlL8QL
→螞蟻上市暫緩:監管新規定或為IPO增加變數、致估值縮水:https://bbc.in/3nnVlGJ
→中國政府擬縮小馬雲的商業帝國:https://bit.ly/2Ly5svs
→馬雲放炮惹了誰?「螞蟻集團」上市神話破滅的導火線:https://bit.ly/3nm2mIg
→投資人美夢一場空?螞蟻集團可能出現的3情境:https://bit.ly/3nmOQEc
→螞蟻上市交易前夕 中國4機關宣佈「監管約談」馬雲等3名高層:https://bit.ly/2XnFPjH
→馬雲帝國陷監管危機 阿里巴巴遭中國反壟斷調查:https://bit.ly/3otMncy
→馬雲的直言不諱 讓「螞蟻」上了熱鍋:https://bit.ly/35oUK1n
→馬雲為何被約談?疑因這一席話惹惱當局:https://bit.ly/3bmHoGP
→馬雲「禍不單行」:阿里巴巴在「反壟斷調查」陰霾中股價暴跌,市值蒸發上兆元:https://bit.ly/2MNSL0j
→螞蟻上市:中國式金融科技公司的雄心和險途:https://bbc.in/3nwr7S2
→螞蟻上市:定價出爐或成史上最大IPO 中美交惡凸顯中企出海風險:https://bbc.in/3nrYbdZ
→從買燒餅到借貸都能用!螞蟻集團成為地表最強IPO的背後,推動了哪些金融創新?:https://bit.ly/2LCAMsQ
→估值上看2,000億、全球最有價值FinTech公司!螞蟻集團如何顛覆中國金融產業?:https://bit.ly/35lv7yu
【 延伸閱讀 】
→拆解螞蟻千億ABS: 「出表」利器如何被壓至4倍「槓桿」:https://bit.ly/2K0xW0A
→【随行就市01】蚂蚁金服如何用ABS和联合贷撬了百倍杠杆?:https://bit.ly/3hUbNxo
\每週7天,每天7點,每次7分鐘,和我們一起了解更多有趣的生活議題吧!/
🥁七七仔們如果想寄東西關懷七七團隊與志祺,傳送門如下:
106台北市大安區羅斯福路二段111號8樓
🟢如有業務需求,請洽:hi77@simpleinfo.cc
🔴如果影片內容有誤,歡迎來信勘誤:hey77@simpleinfo.cc
fintech stock 在 Kokee講 Youtube 的最佳貼文
今天要來和大家介紹eToro
也順便教大家怎麽操作以及註冊
快來跟我step by step的一起學習吧!
繁体:https://etoro.tw/2HzQHn6
简体:https://etoro.tw/2Hy2DWA
EN:https://etoro.tw/2HuV035
免責聲明: 高波動性投資產品,您的交易存在風險。過往表現不能作為未來業績指標。視頻中談及的內容僅作為教學目的,而非是一種投資建議。
#美股
#CFD
#eToro
dow jones crypto stock market business news s&p 500 fintech
▶ 訂閱我的頻道,打開小鈴鐺第一時間通知最新影片哦◀
‣‣ http://bit.ly/2y5BiW8
▶追蹤Kokee的即時動態◀
‣‣ Instargram ► http://bit.ly/2Gv70S2
‣‣ facebook group ► http://bit.ly/2Xufj6m
有商務合作可以聯絡 kokeejiang@gmail.com
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
Kokee講頻道其他系列影片
Kokee 《海島系列》 http://bit.ly/2ky4li7
Kokee 《大馬人在台灣》 http://bit.ly/2k6nHec
Kokee 《新加坡48小時》 http://bit.ly/2m3iu7y
Kokee 《淘寶開箱》 http://bit.ly/2NUXpZT
Kokee 《地產系列》 http://bit.ly/2kmTszV
Kokee 《你不知道的馬來西亞》 http://bit.ly/2EoieIU
Kokee 《飛行系列》 http://bit.ly/2kvnjG8
Kokee 《KK講故事》 http://bit.ly/2ky4P7V
Kokee 《智能家居》 http://bit.ly/2lVh2Uy
Kokee 《YouTube教學》http://bit.ly/2k7xwsm
Kokee 《Kokee Ft.別人》 http://bit.ly/2lzahrB
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
拍攝工具⬇
相機:Canon M6, Sony Action Cam FDR-X3000
鏡頭:11-22, 15-35
麥克風:Rode VideoMic Pro
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
剪輯工具⬇
Adobe Premiere Pro CC 2019
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
合作邀約信箱:kokeejiang@gmail.com
fintech stock 在 3 Top Stocks to Buy Now - High Growth Fintech Stocks 的推薦與評價
Check out all FUW links here: https://linktr.ee/FiredUpWealth Today, I cover the top 3 stocks to buy now in the financial technology sector, ... ... <看更多>