ขีดจำกัดของโลก 9 ประการ
เรื่องโลกร้อนเป็นแค่ 1 ใน 9 เท่านั้น ! มีอีก 8 ตัว! คุณพระ!!
-----------------------
เมื่อไม่นานมานี้ได้ดูสารคดีเรื่อง Breaking Boundaries: The Science of Our Planet ใน netflix [ https://www.imdb.com/title/tt14539726/?ref_=nv_sr_srsg_0 ] น่าสนใจมาก
หนังพูดเรื่อง The 9 planetary boundaries หรือขีดจำกัดของโลก 9 อย่างที่มนุษย์กำลังสร้างผลกระทบโดยตรง และถ้าข้ามขีดอันตรายไปเมื่อไหร่ จะเกิดผลกระทบลูกโซ่ที่ทำลายระบบนิเวศของโลกอย่างหวนกลับมาไม่ได้อีกต่อไป
ซึ่งในบรรดา 9 อย่างนี้ เรารู้จักเรื่องโลกร้อนดีที่สุด แต่ที่เหลือ มีหลายอันที่มีคนพูดถึงน้อยมากๆ
ขีดจำกัดทั้ง 9 นี้ มีที่มาจากกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ นำโดย Johan Rockstrom [นามสกุลโคตรเท่] แห่งมหาวิทยาลัย Stockholm และวิล สเตฟเฟน (Will Steffen) จากมหาวิทยาลัย Australian National University เอางานวิจัยยาวนานกว่า 5 ทศวรรษ มาสรุปเป็นกระบวนการรักษาสมดุลของโลกให้เราเห็นชัดเจน 9 ประการ โดย Rockstrom เองเป็น presenter ของสารคดีชิ้นนี้ด้วย
นอกจากจะทำความรู้จักขีดจำกัดทั้ง 9 อย่างนี้แล้ว งานวิจัยก็ยังบอกเราด้วยว่าตอนนี้มนุษย์อยู่ในขีดอันตรายระดับไหนแล้วในแต่ละหัวข้อ
-----------------------
สถานการณ์: [Code Red] วิกฤติแล้วจ้า ฉิบหายแล้ว มี 2 ข้อ
1. Biodiversity loss [การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ] : สถานการณ์ วิกฤติ
- ว่าด้วยการสูญพันธ์ของสัตว์และพืช ใช่ 50 ปีที่ผ่านมา อัตราการสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้นสูงที่สุดในประวัติศาสตร์ หลักๆมาจากการสูญเสียที่อยู่อาศัยจากการกระทำของมนุษย์ ไม่ทางตรงก็ทางอ้อม เพื่อผลิตอาหาร น้ำ และทรัพยากร
- ต่อปี อัตราการสูญพันธุ์ในปัจจุบัน อยู่ที่ 1,000 ต่อ 1,000,000 ชนิด ต่อปี [0.1%] โดยอัตราการสูญพันธุ์ที่ปลอดภัย อยู่ที่ ไม่เกิด 10 ต่อ 1,000,000 ชนิดต่อปี [ 0.001%] เท่ากับเราเลย limit ที่ปลอดภัยมาแล้ว 100 เท่า!
2. Nitrogen Cycle and Phosphorus Cycle [ วงจรไนโตรเจนและฟอสฟอรัส] : สถานการณ์ วิกฤติ
- ใช้แล้วครับ ไนโตรเจนกับฟอสฟอรัส ในปุ๋ยเคมี NPK นี่แหล่ะ
- เรื่องนี้มีคนรู้น้อยมาก หลักๆคือการที่มนุษย์ผลิตอาหารมากขนาดนี้ เราต้องใช้ปุ๋ยจำนวนมหาศาล เราไปเก็บไนโตรเจนมาจากชั้นบรรยากาศ และขุดฟอสฟอรัสมาจากในดิน แล้วในกระบวนการเกษตร สารเหล่านี้โดนเก็บไว้ในพืชแค่นิดเดียว ที่เหลือไหลลงน้ำลงทะเล หรือกลายเป็นมลพิษในอากาศ
- ซึ่งผลพวงก็มีเช่น ปุ๋ยลงน้ำไปทำให้เกิด Algae Bloom [สาหร่ายเติบโต] ซึ่งพอตายทับถมกัน ก็ทำให้ออกซิเจนในน้ำลดลงเรื่อยๆ จนบางที่กลายเป็น "Dead Zone" หรือจุดที่สิ่งมีชีวิตไม่สามารถอยู่ได้อีกแล้ว เพราะขาดออกซิเจน ซึ่งทั่วโลกพบอยู่หลายร้อยแห่งแล้ว ปล่อยไปเรื่อยๆจะส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ทำระบบนิเวศพังทั้งระบบ
- ตอนนี้เราใช้ไนโตรเจนกับฟอสฟอรัสเพื่อผลิตอาหาร เกิดขีดจำกัดที่นักวิทยาศาสตร์กำหนดไว้ ประมาณ 2 เท่าในทุกๆปี
-----------------------
สถานการณ์: [Code Yellow] ต้องเฝ้าระวัง หากไม่เปลี่ยนแปลง วิกฤติแน่
3. Deforestation Land use Changes การตัดไม้ทำลายป่า และการเปลี่ยนแปลงผืนโลก : สถานการณ์ เฝ้าระวัง
- คือการเปลี่ยนป่าเป็นพื้นที่การเกษตรหรือเลี้ยงสัตว์[การผลิตเนื้อ ใช้ที่ดินเยอะมาก] ซึ่งนำไปสู่ทั้งความสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ [ข้อ 1. ] และเป็นการปล่อยคาร์บอนที่ถูกกักเก็บไว้ในต้นไม้กลับเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ ซึ่งก็ไปสร้างปัญหาภาวะโลกร้อนต่อ รวมถึงการเปลี่ยนน้ำทะเลให้เป็นกรดอีกด้วย
- ป่าคือ Carbon Sink หรือตัวดูดซับคาร์บอนที่ดีที่สุดที่เรามีอยู่ในธรรมชาติ การสูญเสียป่า คือการสูญเสียระบบจัดการคาร์บอนของดาวโลก
- การสูญเสียพื้นที่ป่าในประเทศหนึ่ง อาจสร้างผลกระทบต่อระบบนิเวศในระดับโลก (เช่นป่า Amazon เป็นต้น)
4. Climate Change ภาวะโลกร้อน : สถานการณ์ เฝ้าระวัง
- ตัวโหดที่ทุกคนรู้จักดี ตอนนี้เราผ่านจุดที่คาร์บอนในชั้นบรรยากาศ อยู่ที่ 418 ppm [Parts per million] ซึ่งอาจจะนำไปสู่โลกที่อุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 2 องศา ซึ่งเป็นสิ่งที่ Paris Agreement ในปี 2015 ตั้งใจจะทำให้ได้ แต่อย่างไรระดับคาร์บอนได้ออกไซด์ก็ไม่มีทีท่าจะลดลงมาสักกะที ถ้าหากว่าเกิน 500 ppm ขึ้นไป และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เราอาจจะจบที่ร้อนชึ้น 4-8 องศา ซึ่งนั่นคือ Game Over แน่นอน
- ตอนนี้น้ำแข็งทะเลในขั้วโลกเหนือลดลงจนไม่น่าจะหวนกลับมาได้แล้ว ทำให้เรายิ่งไม่มีพื้นที่สีขาวมาสะท้อนแสงอาทิตย์กลับไป
- น้ำแข็งในกรีนแลนด์ละลายเร็วขึ้นกว่าที่คาดการเอาไว้ 3-4 เท่า ถ้ากรีนแลนด์ละลายหมด น้ำทะเลจะสูงขึ้น 7 เมตร
- ตอนนี้ขั้วโลกได้ที่เชื่อว่าละลายได้ยากมาตลอด เริ่มมีอาการแปรปรวนให้เห็น ถ้าละลายหมด น้ำจะสูงขึ้นหลายสิบเมตร
- จุดที่เราจะย้อนกลับไม่ได้ ใกล้เข้ามาทุกที
-----------------------
สถานการณ์: [Code Green] ยังปลอดภัยอยู่ ต้องรักษาระดับเอาไว้
5. Freshwater Use การใช้น้ำจืด : สถานการณ์ ยังปลอดภัย
- เป็นตัวแปรที่ link กับเรื่อง climate change + ระบบการจัดการน้ำของมนุษย์ ซึ่งได้เปลี่ยนวงจรที่น้ำจืดแปรสภาพและไหลเวียนตามธรรมชาติไปโดยสิ้นเชิง การชลประทานนำไปสู่การเปลี่ยนในการไหลของแม่น้ำ การถางป่านำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงของวงจรไอน้ำ ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและส่วนใหญ่เปลี่ยนแล้วแก้คืนไม่ได้
- ถึงแม้ว่าตอนนี้จะยังไม่วิกฤติ แต่ก็ต้องระวังดีๆ หากเราเปลี่ยนวงจรน้ำจืดไปเรื่อยๆอย่างไม่คิดถึงผลกระทบที่ตามมา อาจจะส่งผลลูกโซ่ต่อเนื่อง สร้างความเสียหายในแบบที่เรายังคาดไม่ถึงได้
6. Ocean Acidification การเป็นกรดของมหาสมุทร : สถานการณ์ ยังปลอดภัย
- ประมาณ 25-30% ของคาร์บอนที่เราปล่อยออกมา ถูกดูดซับโดยน้ำในมหาสมุทร ซึ่งผลพวงของมันก็คือทำให้น้ำทะเลมีความเป็นกรดมากขึ้น ซึ่งก็ไปทำให้ในน้ำมี แคลเซียมคาร์บอเนต ลดลงเรื่อยๆ ซึ่งอันนี้เป็นสิ่งสำคัญที่สิ่งมีชีวิตในทะเล ทั้งปะการัง ทั้งกุ้ง หอย ปู แพลงตอนบางประเภท หรืออะไรก็ตามที่มีเปลือก ใช้ในการสร้างเปลือกป้องกันตนเอง
- พอสัตว์เหล่านี้โตไม่ได้ ก็กระทบบ่วงโซ่อาหาร ในทะเลก็มีปลาน้อยลงเรื่อยๆ
- ตอนนี้น้ำทะเลของเรา มีความเป็นกรดมากขึ้น 30% เมื่อเทียบกับตอนก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม
- อันนี้ link กับเรื่อง Climate change ในเชิงมีสาเหตุร่วมกัน แต่ถือเป็นคนละมาตรวัดกัน
- ถึงยังปลอดภัยอยู่ แต่ถ้าไม่เปลี่ยนเรื่องปล่อยคาร์บอนกัน มันก็จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆต่อไป
7. Stratospheric ozone depletion การสลายตัวของชั้นโอโซน : สถานการณ์ ยังปลอดภัย
- อย่างที่รู้กัน โอโซนช่วยกัน UV [ultraviolet] ไม่ให้เข้าสู่บรรยากาศโลก ถ้าไม่มีโอโซนเราก็จะเป็นมะเร็งผิวหนังกันหมด และระบบนิเวศโลกก็จะพัง
- อันนี้เป็นข้อเดียวที่สถานการณ์ดีขึ้นมาก นับตั้งแต่มีการค้นพบปัญหารูโอโซนบริเวณขั้วโลก และมีการระบุชัดเจนว่าสารเคมีชนิดไหนที่เป็นต้นเหตุ นานาชาติก็มีการตกลงแบนสารเหล่านั้นร่วมกันผ่าน Montreal Protocol จนได้ผลนำสถานการณ์อันตรายมาสู่ระดับที่ปลอดภัยได้
- เป็นความหวังของหมู่บ้าน ว่ามนุษย์สามารถรวมตัวกันแก้ไขปัญหาได้สำเร็จ
-----------------------
สถานการณ์: [Unknown] รู้ว่าเป็นปัญหา แต่ยังไม่สามารถกำหนดขอบเขตที่เกินขีดอันตรายไปได้
- 2 ข้อนี้ คือตัวแปรที่นักวิทยาศาสตร์เห็นตรงกันว่าจะมีผลกระทบกับระบบนิเวศของโลกอย่างมีนัยยะสำคัญ แต่ว่ายังหาคำตอบไม่ได้ว่าขีดอันตรายอยู่ที่จุดไหน
8. Particle Pollution [Atmospheric aerosol loading] สารแขวนลอยในชั้นบรรยากาศ : สถานการณ์ (ไม่รู้)
- ง่ายๆก็คือพวก pm10/ pm2.5 นั่นแหล่ะครับ + สารเคมีต่างๆที่มนุษย์ปล่อยขึ้นไปในชั้นบรรยากาศ สิ่งเหล่านี้นอกจากจะมีผลกับสุขภาพของมนุษย์แล้ว คือมีผลกับอุณหภูมิของโลกด้วย
- ในขณะที่ก๊าซเรือนกระจก ทำให้โลกร้อนขึ้น สารแขวนลอยและมลพิษในอากาศ มีผลกระทบในการสะท้อนแสงอาทิตย์ออกนอกชั้นบรรยากาศ พูดง่ายๆยิ่งอากาศขุ่นมัวมาก อุณหภูมิก็ยิ่งลดลง ซึ่งก็ไม่ใช่เรื่องดีเสมอไป เพราะต้องแลกมากับคุณภาพอากาศที่ย่ำแย่มากๆ เป็นผลกับสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
- นอกจากนั้น สารแขวนลอยเหล่านี้ยังสามารถจับตัวกับไอน้ำ มีผลกับการจับตัวของก้อนเมฆและการเปลี่ยนแปลงของอากาศอีกด้วย
- ซึ่งผลกระทบตรงนี้ ยังอยู่ในขั้นตอนการศึกษาเพิ่มเติม ทำให้ยังไม่สามารถทราบผลกระทบทั้งหมดได้
9. Chemical Pollution การปนเปื้อนของสารสังเคราะห์ : สถานการณ์ (ไม่รู้)
- มนุษย์เราสร้างสารสังเคราะห์ชนิดใหม่ขึ้นมากว่า 100,000 ชนิด ซึ่งมีทั้งโลหะหนักต่างๆ สารกัมมันตภาพรังสี ไมโครพลาสติก ฯลฯ ซึ่งผ่านอุตสาหกรรมและกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ สารเหล่านี้ก็ถูกปล่อยกลับสู่ธรรมชาติ โดยที่เรายังไม่เข้าใจผลกระทบที่พวกมันมีต่อสัตว์ พืช และระบบนิเวศเลย รวมไปถึงผลกระทบที่มันมีต่อคนด้วย [ยกตัวอย่าง จนถึงตอนนี้ ก็ยังไม่สามารถสรุปได้ ว่าการกินไมโครพลาสติกเข้าไป มีผลอะไรกับร่างกายคนบ้าง]
- ทำให้การกำหนดขอบเขตในเรื่องนี้ เป็นไปได้ยากมาก แต่นักวิทยาศาสตร์ก็เห็นพ้องกันว่า เป็นตัวแปรที่มีผลต่อระบบนิเวศของโลกแน่นอน
-----------------------
นอกจาก 9 ข้อนี้ ขอฝากคำศัพท์ไว้อีกคำ คือคำว่า [Antropocene]=แอนโทรโพซีน คือชื่ออย่างไม่เป็นทางการของโลกยุคปัจจุบัน โดยยุคก่อนหน้านี้คือยุค Holocene [โฮโลซีน] ที่เริ่มต้นประมาณ 11,700 ปีที่แล้ว หลังยุคน้ำแข็งรอบสุดท้ายจบลง เป็นยุคที่อุณหภูมิของโลกเริ่มคงที่ ทำให้สภาวะที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของสังคมมนุษย์เกิดขึ้นได้ เป็นสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
แต่มาตอนนี้ นักวิทยาศาสตร์บอกว่ายุค Antropocene ได้มาถึงแล้ว มาจากคำว่า Anthropo ที่แปลว่า "คน" ในภาษากรีก ซึ่งอธิบายง่ายๆก็คือ นี่คือยุคที่มนุษย์กลายเป็นตัวแปรหลักในการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศและระบบนิเวศของโลก จากที่ก่อนหน้านี้ ไม่เคยมีสปีชีส์ไหนทำแบบนี้ได้มาก่อน สัตว์ทุกชนิดต้องยอมรับสภาวะที่โลกหยิบยื่นให้ มีเราเป็นสปีชีส์แรกที่สามารถเปลี่ยนระบบของโลกได้ด้วยการกระทำของเรา
ขึ้นอยู่กับว่าจะเปลี่ยนไปทางไหนเท่านั้นเอง
Ref
http://www.salforest.com/blog/planetary-boundary
https://en.wikipedia.org/wiki/Planetary_boundaries#/media/File:Planetary_Boundaries.png
https://www.stockholmresilience.org/research/planetary-boundaries/the-nine-planetary-boundaries.html
https://www.nationalgeographic.org/encyclopedia/anthropocene/
https://www.imdb.com/title/tt14539726/
同時也有4部Youtube影片,追蹤數超過75萬的網紅志祺七七 X 圖文不符,也在其Youtube影片中提到,✔︎ 成為七七會員(幫助我們繼續日更,並享有會員專屬福利):https://bit.ly/3eYdLKp ✔︎ 訂閱志祺七七頻道: http://bit.ly/shasha77_subscribe ✔︎ 追蹤志祺IG :https://www.instagram.com/shasha77.daily...
「holocene」的推薦目錄:
- 關於holocene 在 Wannasingh Prasertkul (วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล) Facebook 的最佳貼文
- 關於holocene 在 每天為你讀一首詩 Facebook 的最佳貼文
- 關於holocene 在 科技大觀園 Facebook 的最佳貼文
- 關於holocene 在 志祺七七 X 圖文不符 Youtube 的最讚貼文
- 關於holocene 在 國立臺灣科學教育館 Youtube 的最佳貼文
- 關於holocene 在 Kento Bento Youtube 的精選貼文
- 關於holocene 在 Holocene Portland - 首頁| Facebook 的評價
holocene 在 每天為你讀一首詩 Facebook 的最佳貼文
毀滅與再生:人類世(Anthropocene)◎責編一尾
我心有所愛
不忍讓世界傾敗
⠀
——羅智成〈一九七九〉
⠀
安娜・羅文豪普特・秦 (Anna Lowenhaupt Tsing)在《末日松茸:資本主義廢墟世界中的生活可能》以最快速度在廣島重新復甦的「松茸」來談論二戰後的日本地景:「支配原子是人類控制自然這春秋大夢的最顛峰,卻也是該夢想覆滅的開端。廣島的原子彈造成許多巨變。突然間,我們意識到人類有能力破壞地球的可居性,無論是無心插柳,還是刻意為之。這份認知在我們目睹污染、大規模滅絕與氣候變化後更是清晰。」
⠀
從工業革命以來到兩次世界大戰,人類在地表示留下了無法磨滅的痕跡,如隧道、礦坑以及原子彈和核災對於地球生態的影響,人類好像成為了完全主宰這個地球的生物,在地質年代上地質學家認為我們從11700年前開始的全新世(Holocene)進入了人類世(Anthropocene)的時代。
⠀
進入人類世,是否也代表人類文明更進一步了呢?在肺炎疫情影響全球的現在,似乎很難判斷,而人類文明的發展有些人看到了科技的進步充滿信心,也有人認為社群媒體以及資本主義掌控的世界,使得文明傾頹,我們似乎難以在網路世代裡真正的做到傾聽,彼此間的互信在社群媒體的發展下也加深了歧見。二戰的核子彈、近來的核災、網路社群媒體和Covid-19疫情,在在的都大幅度改變我們所認知的世界,而「詩」為我們在這個人類世儼然降臨的時代提供了什麼想像?本週我們以羅智成、李魁賢、巫時和謝旭昇的詩領路,試圖帶大家重新審視我們週遭的一切。
⠀
延伸資訊:
⠀
人類世:跨學科的愛恨情仇
https://kam-a-tiam.typepad.com/blog/2018/06/人類世跨學科的愛恨情仇.html
人類世:形成中的地質年代
https://sa.ylib.com/MagArticle.aspx?id=3208
⠀
美術編輯、照片:https://www.instagram.com/ahhsien_/
⠀
#每天為你讀一首詩 #自然 #生態 #人類世 #末日松茸 #人類文明 #地質 #一尾
https://cendalirit.blogspot.com/2020/10/20201128.html
holocene 在 科技大觀園 Facebook 的最佳貼文
【石器工藝也戰南北?】
距今兩萬七千年前,全球氣候進入又冷又乾的末次冰盛期......
那時西伯利亞、華北、東北亞、日本,延續到北美洲的這個北方範圍,流行一種叫細石葉(microblade)的高科技!這種經過細緻加工的時尚石器,寬度不到1公分,如刮鬍刀鋒利,和骨器搭配一起使用,可以變化多種功能!#各型號DM請戳文章↓↓ #心動請洽當地師傅訂購
但東亞南方、東南亞一帶,用的卻都還是簡陋的石器,難道南方的石器工藝就是弱嗎,是技術沒有傳到南方,還是......沒有必要?
考古學家提出了「竹子假說」,認為當地氣候溫暖,竹林everywhere。他們可以用石頭加工竹子,做出輕便好攜帶的竹刃,鋒利度不輸石頭~ #質料環保 #送禮自用兩相宜 而且竹子不好保存,考古只能找到石頭也是很合理的事~
但技術上做得到,不代表古人真的這樣做過喇~
這個假設還需要更多證據證明。
holocene 在 志祺七七 X 圖文不符 Youtube 的最讚貼文
✔︎ 成為七七會員(幫助我們繼續日更,並享有會員專屬福利):https://bit.ly/3eYdLKp
✔︎ 訂閱志祺七七頻道: http://bit.ly/shasha77_subscribe
✔︎ 追蹤志祺IG :https://www.instagram.com/shasha77.daily
✔︎ 來看志祺七七粉專 :http://bit.ly/shasha77_fb
✔︎ 如果不便加入會員,也可從這裡贊助我們:https://bit.ly/support-shasha77
(請記得在贊助頁面留下您的email,以便我們寄送發票。若遇到金流問題,麻煩請聯繫:service@simpleinfo.cc)
#酪梨 #墨西哥
各節重點:
00:00 前導
01:13 酪梨的歷史
02:14 酪梨變身「綠色黃金」!
04:07 連毒梟都改行
05:30 「綠色黃金」淪為「血酪梨」
06:20 農民的抵抗
07:25 其他地區的酪梨農,也各有困難
08:33 我們的觀點
10:16 提問
【 製作團隊 】
|企劃:蛋糕說話時屑屑請閉嘴、宇軒
|腳本:蛋糕說話時屑屑請閉嘴
|編輯:土龍
|剪輯後製:Pookie
|剪輯助理:范范
|演出:志祺
——
【 本集參考資料 】
→ “Blood Avocados”: The Dark Side of Your Guacamole:https://bit.ly/3hlmIyL
→ 40位中西醫嚴選健康食物,教你排毒減肥、防癌抗老,愈吃愈年輕:https://bit.ly/3hAQmjN
→ 地球圖輯隊:「血酪梨」:餐桌上的酪梨 背後比你想的血腥:https://bit.ly/3hq5XCA
→ 美國人的超級美食,墨西哥人以悲劇澆灌的血酪梨:https://bit.ly/2WDQtTx
→ Are Mexican avocados the world's new conflict commodity?:https://bit.ly/3jvIDVF
→ Avocado History - Domestication and Spread of Avocado Fruit:https://bit.ly/2CyTm0U
→ Avocado: the 'green gold' causing environment havoc:https://bit.ly/32GzAvh
→ Avocados in Kenya: what’s holding back smallholder farmers:https://bit.ly/3jrCbyV
→ Blood Avocados No More: Mexican Farm Town Says It's Kicked Out Cartels:https://n.pr/30DXIfe
→ Boycotting Avocados Won’t Hurt Cartels:https://nyti.ms/39ixrHj
→ Can hipsters stomach the unpalatable truth about avocado toast?:https://bit.ly/2WL9gw7
→ Can You Eat Too Much Avocado? The answer from a functional medicine dietitian:https://cle.clinic/2CAncCm
→ Dillehay, T. D., Goodbred, S., Pino, M., Sánchez, V. F. V., Tham, T. R., Adovasio, J., ... & Piperno, D. (2017). Simple technologies and diverse food strategies of the Late Pleistocene and Early Holocene at Huaca Prieta, Coastal Peru. Science Advances, 3(5), e1602778.
→ Kenya's ground-down coffee farmers switch to avocado amid global boom:https://reut.rs/2Cr9bHd
→ María Elena Galindo-Tovar, Amaury M. Arzate-Fernández, Nisao Ogata-Aguilar, and Ivonne Landero-Torres ""The Avocado (Persea Americana, Lauraceae) Crop in Mesoamerica: 10,000 Years of History,"" Harvard Papers in Botany 12(2), 325-334, (1 December 2007). :https://bit.ly/32E5rg5
→ Mexican X-plainer: Balls, Nuts & Avocados:https://bit.ly/39mOoQT
→ Mexico avocados big in China:https://bit.ly/3eQPwgE
→ Revealed: the enormous carbon footprint of eating avocado:https://bit.ly/2OMvute
→ Robinson, D. The Avacado. Ethnobotanical Leaflets, 1998(1), 3.
→ Stanford, L. Constructing ``quality'': The political economy of standards in Mexico's avocado industry. Agriculture and Human Values 19, 293–310 (2002). :https://bit.ly/3fTHnK2
→ The Aztecs: A History Ripe with Avocados:https://bit.ly/32HbzUJ
→ The global avocado crisis and resilience in the UK’s fresh fruit and vegetable supply system:https://bit.ly/3eXPkwx
→ U.S. Lifts Ban on Avocados From Mexico:https://lat.ms/2Bp8ihM
→ Why Avocados Attract Interest Of Mexican Drug Cartels:https://wbur.fm/3jsSn2W
→ Why our love for avocados is not sustainable:https://bit.ly/30CZb5w
【 延伸閱讀 】
→ 一次搞懂世界上最營養的水果!品種挑選、賞味時機:https://bit.ly/3eNKbac
→ 《種台灣酪梨》客家新聞雜誌第611集:https://bit.ly/3fVhMQM
→ 草地狀元-安全酪梨育成專家(20180903播出):https://bit.ly/2OYLRTT
→ ""Rotten"" The Avocado War:https://bit.ly/2WL4Cyf
\每週7天,每天7點,每次7分鐘,和我們一起了解更多有趣的生活議題吧!/
🥁七七仔們如果想寄東西關懷七七團隊與志祺,傳送門如下:
106台北市大安區羅斯福路二段111號8樓
🔶如有業務需求,請洽:hi77@simpleinfo.cc
🔴如果影片內容有誤,歡迎來信勘誤:hey77@simpleinfo.cc
holocene 在 國立臺灣科學教育館 Youtube 的最佳貼文
這次鯨魚小老師跟緞黛小老師帶著大家進入
Project Holocene瀕危動物藝術創作計畫
的創辦人暨藝術家 Russ Ronat的作畫現場
聽聽藝術家對發起計畫的心路歷程~!
展覽資訊:https://goo.gl/7rZWbw
holocene 在 Kento Bento Youtube 的精選貼文
Our merch store: https://standard.tv/kentobento
Our patreon: https://patreon.com/kentobento
Other videos:
How Would You Escape North Korea? (The 7 Choices): https://youtu.be/6A0ZOkMDLw0
10 Things You Didn’t Know About FUKUSHIMA NUCLEAR DISASTER: https://youtu.be/HpOG4WFKBZQ
-----------------------
10 THINGS YOU DIDN'T KNOW ABOUT THE 2011 JAPANESE TSUNAMI & TOHOKU EARTHQUAKE
(TOHOKU DISASTER) 東北地方太平洋沖地震 (March 11th)
The most powerful earthquake ever recorded to have hit Japan. A 9.0 magnitude. This of course triggered a massive tsunami that wrecked the north eastern coastline.
Japan was simply not as prepared as they thought they were for such a disaster. If that wasn’t bad enough, there was a Level 7 nuclear emergency at the Fukushima Daiichi Nuclear Power Plant comparable to Chernobyl.
1) Every 800 to 1100 Years
From analysing the Holocene sequence in the Sendai area, it’s known that sometime between 1000 BC and 500 BC, a massive tsunami-generating earthquake hit the area.
Then in 1 AD, it hit again.
Over 800 years later, The Sanriku Earthquake and Tsunami of 869, devastated the same area in and around Sendai.
That’s 3 events of similar type and magnitude in the same region all in the last 3000 years. This indicates a recurrence interval of 800 to 1100 years. We were due another one...
2) Antarctic Ice
Seismic waves increased the flow of the Whillans Ice Stream in Antarctica, which is essentially a moving ice river. Sea waves, having traveled 13,000 km broke icebergs the size of Manhattan off the Sulzberger Ice Shelf.
3) Planetary Changes
The Earth’s axis shifted by 10 to 25 cm, which changed the tilt of the planet and the length of a day-. That’s right; the redistribution of Earth’s mass shortened our day by almost two microseconds.
4) Costliest Natural Disaster
The 2004 Indian Ocean earthquake and tsunami, $15 billion
The 9/11 Terrorist Attacks, $20.7 billion
Hurricane Katrina in 2005, $45 billion
The 2008 Sichuan Earthquake in China, $148 billion
The 2011 Tohoku Earthquake and Tsunami in Japan? Over $300 billion
5) Gaman
In Japan, immediately following the earthquake, there was a notable lack of disorder.
People remained calm despite having every right to freak out. They formed orderly lines outside supermarkets even though they were desperate for food. This act of civility is due to what the Japanese call, Gaman.
Gaman means to do one’s best in times of distress, to maintain self control and discipline. There is a national desire to see civility prevail, no matter the circumstances, even when one catastrophe piles onto another.
6) Yakuza Crime Syndicate
Members of the Yakuza, Japan’s organised crime syndicate, helped enforce order on the streets.
7) North Korean Assist
North Korea donated a $100,000 US to the Japanese Red Cross Society, and the late former leader Kim Jong-Il himself sent half a million dollars to Korean residents in Japan caught up in the disaster.
8) Celebrity Aid
All around the world, many celebrities privately donated to the relief effort, including Hikaru Utada, Gackt, AKB48, Girls’ Generation, Jackie Chan, Clint Eastwood, Sandra Bullock, Gwen Stefani, Shakira, Black Eyed Peas, My Chemical Romance, and Lady Gaga.
9) Ghost Passengers
Police have received hundreds of reports from people who have apparently seen ghosts in tsunami-devastated towns. Taxi drivers in particular have reported picking up ghost passengers.
10) Vindicated Mayor
Wamura became the mayor of Fudai, and in 1972, he started construction on a 15.5 meter floodgate. The total cost was 3.56 billion yen. Many residents as well as the village council felt a floodgate of that size was unnecessary. It was reckless spending from a foolish mayor.
The Tohoku tsunami destroying towns along the north eastern coast. Fudai, however, was spared. Wamura’s floodgate had prevented much of the water from coming in. He had saved the town that had doubted him.
Today, Kotaku Wamura is remembered as a hero, the saviour of Fudai.
-----------------------
ABOUT
We do videos on interesting 'Asiany' topics - Asian stereotypes, Asian pop culture, Asian issues, Asian history, AMWF, and things you just didn't know about Asia! At the moment there is particular emphasis on Japan, China and Korea, but in the future we would like to focus on other Asian countries as well.
SUBSCRIBE TO KENTO BENTO
► Main Channel: https://www.youtube.com/c/kentobento
► Second Channel: https://www.youtube.com/c/KentoBentoChill (personal)
FOLLOW US ON SOCIAL MEDIA
► Twitter: https://twitter.com/kentobento2015
► Facebook: https://www.facebook.com/kentobento2015
holocene 在 Holocene Portland - 首頁| Facebook 的推薦與評價
If you are a band, musician or artist and would like to perform at Holocene, email [email protected]. If we seem like a good match, we'll email you back ... ... <看更多>