สรุปประเด็นจากห้อง Clubhouse
เปิดความท้าทายของจีนยุคใหม่ ลงทุนหุ้นจีนต้องดูอะไร ?
BBLAM x ลงทุนแมน
“การเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงความท้าทายทุกด้านของจีน
จะทำให้เราเห็นโอกาสที่ซ่อนอยู่ในการลงทุนหุ้นจีนได้อย่างชัดเจนที่สุด”
นี่คงเป็นประโยค ที่สรุปใจความสำคัญได้สมบูรณ์ที่สุด
หลังจากที่ คุณทีน่า สุภัททกิต เจตทวีกิจ, CFA จากลงทุนแมน
ได้พูดคุยกับ 2 ผู้เชี่ยวชาญจากกองทุนบัวหลวงในห้อง Clubhouse ในหัวข้อ “เปิดความท้าทายของจีนยุคใหม่ ลงทุนหุ้นจีนต้องดูอะไร ?” เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ที่ผ่านมา
โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจและการลงทุนในจีนจากกองทุนบัวหลวงทั้ง 2 ท่าน ได้แก่
- คุณทนง ขันทอง Head of Strategic Communications กองทุนบัวหลวง
- คุณมทินา วัชรวราทร CFA®, AVP, Portfolio Management กองทุนบัวหลวง
ความท้าทายและโอกาสของจีนในตอนนี้มีอะไรบ้าง แล้วลงทุนหุ้นจีนต้องดูอะไร ?
ลงทุนแมนจะสรุปให้ฟัง
ความท้าทายที่ 1: สงครามการค้าและเทคโนโลยี ระหว่างจีนและสหรัฐอเมริกา
เรื่องสงครามการค้า สงครามเทคโนโลยี ระหว่างจีนและสหรัฐอเมริกา เป็นสิ่งที่นักลงทุนรับรู้เรื่องนี้ตลอดเวลาที่ผ่านมา เพราะฉะนั้นเวลามีข่าวดี หุ้นจีนก็พร้อมวิ่งไปต่อ
นอกจากนั้น ความกังวลเรื่องสงครามการค้าและเทคโนโลยี
ยังทำให้มูลค่าของบริษัทเทคโนโลยีจีนมีราคาที่ถูกลง
ถ้าเราลองดูภาพรวมของหุ้นกลุ่มนี้ผ่าน MSCI China Technology กับ S&P Technology
จะเห็นว่า บริษัทเทคโนโลยีจีนที่แพงกว่าสหรัฐอเมริกามาตลอดหลายปี ถูกลด P/E ลงมา ทั้งที่ผลประกอบการไม่ได้แย่เลย ทำให้ P/E ของกลุ่มอยู่ที่ 25 เท่า สูงกว่า ค่าเฉลี่ย 15 ปีเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
ความท้าทายที่ 2: ความกังวลเรื่องเงินเฟ้อ
ล่าสุด ผู้ว่าการธนาคารกลางจีน คุณ Yi Gang ก็ออกมาบอกว่าเงินเฟ้อของจีนในช่วงนี้ จะต่ำกว่า 2% และเงินเฟ้อฝั่งผู้บริโภคของจีนล่าสุดที่ออกมาอยู่ที่ระดับ 1.3% จากช่วงเดียวกันปีก่อนหน้า ก็ช่วยให้นักลงทุนคลายกังวลเรื่องเงินเฟ้อสูงไปตาม ๆ กัน
คุณมทินา ยังแนะนำเทคนิคดูการปรับตัวของหุ้นจีนแบบแม่น ๆ คือนอกจากดู “นโยบายการเงิน” ของธนาคารกลางจีนแล้ว ให้ดู “ยอดการระดมทุนรวมสุทธิของทั้งระบบ (Total Social Financing)” หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า TSF
TSF คือยอดการปล่อยสินเชื่อรวมในระบบ ที่สะท้อนถึงสภาพคล่องในระบบขณะนั้น ซึ่งถ้าเอาข้อมูล TSF มาพลอตเทียบกับ ตลาดหุ้น A-shares (ตลาดหุ้นจีนแผ่นดินใหญ่) ก็จะมีความสัมพันธ์สูง ไปในทิศทางเดียวกัน
อย่างเช่น ในช่วงที่ผ่านมา การเติบโตของ TSF ลดลง แสดงถึงสภาพคล่องในระบบที่ลดลง และสะท้อนไปยังราคาหุ้นของจีนที่ปรับตัวลดลงได้นั่นเอง
คำถามคือ สภาพคล่องของทั้งระบบเศรษฐกิจ จากการที่ TSF ที่ลดลงในช่วงที่ผ่านมา น่ากลัวไหม ?
กองทุนบัวหลวงมองว่า “ไม่ได้น่ากลัวเท่าที่คิด” เพราะการลดสภาพคล่องของจีน ค่อยๆ ทำอย่างระมัดระวังมาหลายเดือนแล้ว และตลาดก็ได้สะท้อนความกลัวนั้นไปมากแล้วก่อนหน้านี้
เพราะฉะนั้น ความเสี่ยงในด้านขาลงของหุ้นจีน (Downside Risk) ควรจะเริ่มจำกัดแล้วในตอนนี้
ความท้าทายที่ 3: ปัจจัยเสี่ยงด้านภูมิรัฐศาสตร์
จีน มีปัญหาในเชิงการเมืองกับหลายฝ่าย ทั้งไต้หวัน ฮ่องกง และโดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา
ตั้งแต่ยุคประธานาธิบดี บารัก โอบามา สหรัฐอเมริกา เน้นเข้ามามีบทบาทในเอเชียและตะวันออกกลางมากขึ้น เพื่อคานอำนาจของจีนที่เริ่มสานสัมพันธ์กับนานาประเทศในหลายภูมิภาค
ขณะที่สมัยประธานาธิบดี ทรัมป์ ก็เริ่มก่อสงครามการค้า สงครามเทคโนโลยีที่ชัดเจน และยกประเด็นต่าง ๆ ขึ้นมาโจมตีจีน เช่น เรื่องสิทธิมนุษยชนในเขตซินเจียง เรื่องการวางอำนาจของจีนในทะเลจีนใต้ ไปจนถึงเรื่องการเป็นต้นตอของวิกฤติโรคระบาดโควิด-19
คุณทนงเชื่อว่า ความเข้มข้นของเรื่องการเมืองโลกเหล่านี้ จะนำไปสู่การประนีประนอมในท้ายที่สุด อีกทั้งจะมีการปรับระเบียบโลกครั้งใหม่ สู่ระบบหลายขั้วผู้นำ (Multipolar) และจีนมีศักยภาพที่จะก้าวขึ้นมาเป็นอีกหนึ่งขั้วมหาอำนาจโลกได้
ความท้าทายที่ 4: การเติบโตระยะยาวของจีน ที่เริ่มแผ่ว
ล่าสุดทางการจีนออกมาประกาศ ตั้งเป้าการเติบโตของเศรษฐกิจลดลง จากเดิมที่โตเฉลี่ย 7-8% ต่อปี เหลือ 5-6% ต่อปี
เรื่องนี้ คุณทนงมองว่า เรื่องนี้เป็นเรื่องธรรมชาติ เพราะตลอดหลายสิบปีที่ผ่านมาจีนเติบโตเร็วมาตลอด พอฐานเศรษฐกิจเริ่มใหญ่ขึ้น 5-6% ก็ยังคงถือว่าไม่ได้แย่ ถึงแม้จะไม่ได้ร้อนแรงเหมือนเดิม
ส่วนคุณมทินา มองว่าสไตล์การดำเนินนโยบายการเงินของจีน จะทำให้จีนแข็งแกร่งได้ในระยะยาว
เพราะถ้าลองเทียบสไตล์การใช้นโยบายการเงินของธนาคารกลางจีนกับสหรัฐอเมริกา
ประการแรก - เราจะเห็นว่า สหรัฐอเมริกา จะใช้นโยบายทางการเงินที่จัดหนักจัดเต็ม มีการอัดฉีดเงินมูลค่ามหาศาลเข้ามาในระบบแบบไม่ยั้ง ขณะที่จีนค่อนข้างมีความรัดกุม เช่น เมื่ออัดฉีดเงินเข้าระบบแล้วเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว ก็จะรีบพยายามหาทางลดความร้อนแรง โดยการดูดเงินออกจากระบบทันทีที่มีโอกาส
ประการที่สอง - จะเห็นได้ว่าเป้าหมายของจีนนั้น ไม่ได้ต้องการโฟกัสไปที่ตลาดหุ้น แต่ต้องการที่จะสร้างเสถียรภาพให้กับระบบเศรษฐกิจโดยรวม แตกต่างกับทางสหรัฐอเมริกา ที่จะเน้นที่การกระตุ้นให้เศรษฐกิจฟื้นตัวไปตามเป้าหมายในทันที
ซึ่งคุณมทินามองว่า สไตล์การใช้นโยบายทางการเงินของจีน จะทำให้ตลาดหุ้นจีนมีเสถียรภาพในอนาคต
ความท้าทายที่ 5: ความเข้มงวดของรัฐบาลจีน ต่อบริษัทเทคโนโลยีจีน
อย่างเช่น ที่หน่วยงานกำกับและดูแลตลาดจีน เคยสั่งปรับ Alibaba ในข้อหาผูกขาดตลาดและใช้นโยบายเอาเปรียบผู้บริโภค และเรียกผู้บริหารบริษัทเทคโนโลยียักษ์ใหญ่ในจีนหลายรายไปพูดคุย
เหตุการณ์เหล่านี้ กำลังทำให้หุ้นเทคโนโลยีจีนตอนนี้ถูก Discount หรือลดมูลค่าลงไปพอสมควร เพราะนักลงทุนกังวลว่า หลายบริษัทจะได้รับผลกระทบจากการจัดระเบียบของทางการจีน
แต่ความเข้มงวดตรงนี้ ทางกองทุนบัวหลวงมองว่าเป็นผลดีในระยะยาว เพราะแม้เรื่องนี้ อาจกระทบบางบริษัท หรือทั้งกลุ่มเทคโนโลยีในระยะสั้น แต่ในระยะยาวจะทำให้เส้นทางการเติบโตของบริษัทเหล่านี้เป็นไปอย่างถูกต้อง และมั่นคงในอนาคต
ความท้าทายที่ 6: ภาพลักษณ์ของจีน ที่ถูกมองว่าไม่มีเทคโนโลยีเป็นของตัวเอง
กองทุนบัวหลวงมองว่า เป็นความคิดที่ไม่ถูกต้องนัก เพราะถ้าลองมาดูตัวเลขในเรื่องเหล่านี้จะเห็นว่า
- งบประมาณด้านเทคโนโลยีอยู่ในแผน 5 ปี และรัฐบาลจีนตั้งเป้า % งบวิจัยพัฒนาต่อ GDP ให้เทียบเท่ากับสัดส่วนของสหรัฐอเมริกา
- จำนวนการยื่นจดสิทธิบัตร อ้างอิงจาก World Intellectual Property จีนแซงหน้าสหรัฐอเมริกา, เยอรมนี ญี่ปุ่น ไปแล้ว
- จำนวนสตาร์ตอัป (สตาร์ตอัปมูลค่ามากกว่า 31,000 ล้านบาท) ในปักกิ่ง แซงหน้า San Francisco และ New York ไปแล้ว
ข้อมูลเหล่านี้ ทำให้เห็นว่ารัฐบาลจีนจริงจัง และให้ความสำคัญกับงบสนับสนุนด้านเทคโนโลยีมาก ๆ และจีนเองก็เป็นเจ้าของนวัตกรรมและเทคโนโลยีมากมายไม่แพ้ใคร
ซึ่งจากโอกาสและความท้าทายที่ว่ามาทั้งหมดนี้ ถ้าถามว่ากองทุนรวมแบบไหน ที่พร้อมยืดหยุ่นในการลงทุน และเติบโตไปกับโอกาสเหล่านี้
“B-CHINE-EQ” หรือ “กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นจีน” ที่บริหารจัดการโดยกองทุนบัวหลวง ก็เป็นหนึ่งทางเลือกที่มองข้ามไม่ได้
เพราะ B-CHINE-EQ ลงทุนทุกตลาดของจีน มีนโยบายการลงทุนที่ยืดหยุ่น แบ่งการลงทุนเป็น 2 ส่วน
ส่วนแรกใช้วิธีใช้ Outsource Fund Manager มอบหมายให้ Allianz Global Investors Asia Pacific Limited (AGI) เป็นผู้รับดำเนินการลงทุนในต่างประเทศ
ซึ่ง AGI เป็นพันธมิตรที่แข็งแกร่ง มีความชำนาญในการค้นหาโอกาสเชิงรุก และเก่งเรื่องการคัดเลือกหุ้นรายตัว มีความรู้ ความเข้าใจ ในตลาดหุ้นจีนเป็นอย่างดี
โดยปัจจุบัน AGI นำเงินไปลงทุนใน 2 กองทุนหลัก คือ Allianz All China Equity และ Allianz China A-Shares โดยในส่วนที่ AGI ดำเนินการ ตามนโยบายหลักกำหนดไว้ที่ 80% ของ NAV
ส่วนที่สอง อีก 20% ที่เหลือเปิดให้กองทุนบัวหลวงพิจารณาเลือกลงทุนหุ้นจีนได้ด้วยตัวเอง ทำให้กองทุนหุ้นจีนของกองทุนบัวหลวงมีสไตล์ความเป็นกองทุนบัวหลวงจริง ๆ อยู่ในนั้น
เพราะการลงทุนในจีนนั้นเต็มไปด้วยความท้าทาย
แต่ความท้าทายที่มากนั้นก็หมายความว่า มีโอกาสที่แฝงอยู่มากตามไปด้วย
และ B-CHINE-EQ ก็คือหนึ่งในทางเลือกที่น่าสนใจที่สุด
สำหรับคนที่อยากเติบโตไปกับหุ้นจีนในตอนนี้ และอนาคต..
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「msci china all shares」的推薦目錄:
- 關於msci china all shares 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
- 關於msci china all shares 在 小龍江恩研究社 Facebook 的最佳貼文
- 關於msci china all shares 在 非凡電視台 Facebook 的最佳貼文
- 關於msci china all shares 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
- 關於msci china all shares 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
- 關於msci china all shares 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
- 關於msci china all shares 在 How To Get A Slice of China's Growth Through Diversification 的評價
msci china all shares 在 小龍江恩研究社 Facebook 的最佳貼文
2019年12月14日IMONEY 預測。今日再拿出來是為了2021年預測。當中提及了下面的分析:
當中包括
-當中提及的1月下跌,是全年最大的跌浪。跌約8000點
-A50 ETF由12元升到21元
-江西銅業股份(00358)、中國鋁業(02600)約一倍表現
-太平及人壽在2020年7月大升
當時文章節錄寫:
本刊專欄作家小龍,今年選 股的成績不俗,選中手機設備股 瑞聲,2020年他認為投資焦點 將回歸舊經濟股,在一眾舊經濟 股中,他看好內險股,首選中國 太平(00966),次選中國人壽(02628)。但他建議持有以上股份 者先在12月沽貨離場,待1月調整 後再重新入市。
小龍說,2020年他最看好的是 內地A股。
他說:「經過幾輪 MSCI 中國指數調配後,A股市場的結構已 有所改變,以前以散戶為主,今天 已經是外資、散戶及機構投資做主 導,今年上證指數表現好像不濟,但 滬深300 指數及上證50指數,其實 已重回2017年至2018年高位,預 期明年MSCI 有機會加大A股比 重,且明年過年後中央有機會力谷股市。
今年11月8日,明 MSCI 公 布,把中國A股納入因子由15%增 至20%,令A股於 MSCI新興市 場指數中的權重由2.55%擴大至 14.1%。從MSCI 11月半年度的調整 顯示,MSCI中國全流通指數(MSCI China All Shares Indexes)中將有 162 隻新增和 20 隻剔除。
MSCI 中國小盤全流通指數(MSCI China All Shares Small Cap Index)中將有 330 隻新增和37隻剔除。內地券商 分析指,是次A股擴容帶來的資金 流入,明顯高於此前幾次的納入。 中金估算指數調整對A股的增量資金(主動+ 被動)規模約為350 億 美元至400 億美元,相比2019年 5月和8月的兩次納入的估算資金流入(約230 億美元)高約50%至 70%。
小龍說,想買A股的話,安碩A50(02823)、南方A50(02822) 都可以。中資舊經濟股方面,他說: 「內地的舊經濟股,有機會重新估 值,特別是礦業股,因為中美之間貿 易談判中指明,企業不可以再提供補 「貼,那些礦業公司要開始市場化,可 能會重組資產,例如江西銅業股份
(00358)、中國鋁業(02600)。 但若一定要練一隻股份,我會選中 資保險股中國太平,除了因為看好A 股外,中資保險股的市盈率約20 倍 左右,另外她們手上持有大量A股。
最後,他寄語說,投資者要避開 | 1月份,估計中央會於年底收水,所
以股市不會向好。但過了1月立春後 會向好,原因是,明年1月是中國企 業債的高峰期,若股市仍然好像現在一潭死水,未必可以順利集資,故 投資者宜在農曆年後再作部署!
2021年2月網聚報名
https://cutt.ly/vjf2PAR
2021年4月-6月網聚
https://cutt.ly/Qjf2Edm
msci china all shares 在 非凡電視台 Facebook 的最佳貼文
0207 #開盤 #重點
#中國 #關稅 #美股
中國調降美國商品關稅,有助市場淡化武漢肺炎憂慮,激勵美股3大指數創高,台股6日大漲176.06點,收在11749.68點,投顧指出,短線季線之上的解套壓力仍在,不宜過度追價。投資人繼續擺脫武漢肺炎引發的憂慮,加上中國調降美國商品關稅獲得市場掌聲,華爾街股市3大指數今天全數締造新高。
#蘋果 #半導體
蘋果去年半導體支出達361.3億美元,超越三星,躍居全球最大半導體買家。據研調機構顧能(Gartner)統計,去年全球半導體支出金額滑落至4183.02億美元,年減11.9%,主要受記憶體價格下滑影響。
全球前5大半導體買家與2018年相同,為蘋果、三星、華為、戴爾及聯想,但排名稍有異動,顧能指出,蘋果去年半導體支出361.3億美元,占全球比重8.6%,超越三星的8%,躍居全球半導體最大買家。
#MSCI #A股
國際指數編製公司明晟(MSCI)將於13日公布季度指數調整結果,包括MSCI的大陸A股在岸指數(MSCI China A Onshore indexes),以及MSCI全中國指數(MSCI China All Shares Indexes),將於28日生效。巨豐投顧分析,預計此次調整整體增持A股的趨勢不變,對市場整體影響依舊正向積極。
#外資 #台股
昨日在美、歐陸續傳出武漢肺炎用藥有新突破,加上美股持續走高,帶動亞股跌深反彈,台股也在權王台積電領盤下開高走高,且盤中傳出美中關係有望和緩,進一步推升反彈力道,終場收在最高點11,749點,其中,外資則結束連二賣,買超52億元,為開紅盤來單日最大買超,公股行庫則結束連五買,轉為賣超16億元,今天將挑戰重回季線。
#鴻海 #鴻家軍 #復工
台股昨日重登11,700點,其中蘋概三王中的鴻海,在法說會舉辦前夕,以及不斷強調維持10日復工目標不變得帶動下,激勵短多進場押寶,站回5日線、半年線,外資也回補4,619張,其餘如京鼎、訊芯、中揚光等15檔鴻家軍,也幾乎全面收高,集團投資的夏普也搶近搶進泰國智慧家庭市場,有望取得更大的市占率。
#友達 #面板 #法說會
面板大廠友達6號舉行法說會公佈財報,去年第四季虧損擴大為88.3億元,累計2019一整年,虧損高達191.9億元,每股稅後虧損2元。是友達從2013年連續獲利6年後,首度全年營運轉虧。面對現在武漢肺炎疫情蔓延,影響中國面板廠產出,激勵短期價格上揚,但友達董事長彭双浪也坦言,疫情對於上下游產業鏈包括生產、物流,會有比較大的衝擊。
#威剛 #記憶體
記憶體模組廠威剛昨日公告元月合併營收,由於受到農曆春節假期影響,威剛元月營收18.81億元,月減24.2%,較去年同期減少10%。威剛董事長陳立白表示,短期雖因武漢肺炎疫情未明造成恐慌效應,但今年記憶體供不應求的整體態勢不變。
#武漢肺炎 #衝擊 #台塑 #台化
面對武漢肺炎攪局,台塑、台化昨(6)日下修第1季營收展望,預估將比去年第4季下滑。但認為庫存回補行情並沒有消失、只是延後,台塑董事長林健男表示,石化同業因庫存偏高已開始減產因應,加上3月起亞洲輕裂廠進入密集歲修期,供給將減少,只要疫情能夠獲得控制,石化品需求及行情將逐漸增溫。
#財經 #新聞 #非凡新聞 #ustvnews #news
msci china all shares 在 How To Get A Slice of China's Growth Through Diversification 的推薦與評價
00:00 Introduction 00:55 China tech ETFs 06:02 China A- shares ETFs 10:14 Hong ... How to invest in stocks that multiply your money safely ... ... <看更多>