สรุปเส้นทางของ Zoom ธุรกิจที่โตระเบิด ในวิกฤติโรคระบาด /โดย ลงทุนแมน
วิกฤติโรคระบาดที่เกิดขึ้นและยังไม่จบลง ทำให้การใช้ชีวิตของคนจำนวนมากต้องเปลี่ยนไป
หลายคนต้องทำงานที่บ้าน หลายคนต้องหันมาเรียนออนไลน์
Video Conference จึงเป็นเครื่องมือ ที่ได้รับความนิยมอย่างมาก
และถ้าพูดถึงแอปพลิเคชัน Video Conference
หนึ่งในแอปพลิเคชันที่หลายคนคุ้นเคยในตอนนี้ ก็คือ “Zoom”
แล้ว Zoom เติบโตแค่ไหน ในช่วงที่มีวิกฤติโรคระบาด ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
จุดเริ่มต้นของ Zoom นั้นเกิดมาจากคุณ Eric Yuan นักคณิตศาสตร์และวิศวกรซอฟต์แวร์ชาวจีน ผู้ที่ต้องการจะแก้ปัญหาเรื่องการสื่อสาร ระหว่างเขากับแฟนที่อาศัยอยู่คนละเมือง
เพราะเขาต้องการใช้เวลาเดินทางทางรถไฟเที่ยวละ 10 ชั่วโมง เพื่อจะไปพบแฟนของเขา ซึ่งนั่นนับเป็นแรงบันดาลใจให้เขาอยากจะพัฒนาเทคโนโลยี ที่จะช่วยให้ผู้คนสามารถสื่อสารแบบเห็นหน้ากันได้ผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์
แรงบันดาลใจในครั้งนั้น ถูกตอกย้ำอีกครั้งในปี 1995 เมื่อคุณ Eric Yuan เดินทางไปญี่ปุ่น และที่นั่นเขาได้ไปฟังคุณบิลล์ เกตส์ ผู้ร่วมก่อตั้งไมโครซอฟต์ ที่ตอนนั้นได้ไปพูดเกี่ยวกับทิศทางและอนาคตของอินเทอร์เน็ตที่ประเทศญี่ปุ่นพอดี
การได้ฟังคุณบิลล์ เกตส์ ยิ่งตอกย้ำให้เขาตัดสินใจที่จะไปทำงานที่ซิลิคอนแวลลีย์ เมืองแห่งนวัตกรรมของโลกที่สหรัฐอเมริกาให้ได้
แม้ว่าช่วงแรกนั้น อุปสรรคในการเข้าไปทำงานที่สหรัฐอเมริกาคือ ภาษาอังกฤษ ที่เขาสามารถสื่อสารได้เพียงเล็กน้อย ทำให้ต้องใช้ความพยายามถึง 9 ครั้งในการสมัครขอวีซ่า เพื่อเดินทางเข้าไปยังสหรัฐอเมริกา จนสุดท้ายก็ทำสำเร็จ
ความรู้ทางด้านระบบซอฟต์แวร์ของคุณ Eric Yuan ที่โดดเด่นทำให้เขาได้เริ่มต้นทำงานที่ Webex ซึ่งตอนนั้นเป็นบริษัท Startup ที่ให้บริการซอฟต์แวร์ Video Conference
เขาทำงานจนได้เลื่อนเป็นผู้บริหารของบริษัท
และที่น่าสนใจคือ ในปี 2011 คุณ Eric Yuan ได้นำเสนอ การทำ Video Conference รูปแบบใหม่ ที่ใส่ลูกเล่นเข้าไปในการประชุม เพื่อให้ไม่จำเจและแตกต่างจากแพลตฟอร์มหรือแอปพลิเคชันสำหรับประชุมอื่น ๆ
แต่โครงการนี้ของเขากลับถูกปฏิเสธโดยผู้บริหารระดับสูงของบริษัท
พอเรื่องเป็นแบบนี้ เขาตัดสินใจลาออกจาก Webex
เพื่อที่จะนำไอเดียนั้น มาพัฒนาที่บริษัทที่เขาก่อตั้งขึ้นมาเอง
ด้วยความที่เป็นบริษัท Startup สิ่งสำคัญในการทำธุรกิจคือ เงินลงทุน
เขาจึงติดต่อนักลงทุนหลายรายเพื่อนำเงินมาลงทุนในบริษัทเขา
แต่ปัญหาคือว่า นักลงทุนส่วนใหญ่นั้นยังขาดความเชื่อมั่นในบริษัทของเขา
ทั้งยังมีเจ้าตลาดอย่าง Skype หรือแม้แต่บริษัทเทคโนโลยีอย่าง Google และ Microsoft ที่มีทุนและความพร้อมในการเข้ามาทำธุรกิจนี้อยู่แล้ว
อย่างไรก็ตาม ด้วยความพยายามของคุณ Eric Yuan
รวมทั้งความไม่ย่อท้อต่อการนำเสนอวิสัยทัศน์ให้แก่นักลงทุนอย่างต่อเนื่อง
สุดท้ายเขาก็ได้รับเงินลงทุนจากนักลงทุน ที่เพียงพอจะลงทุนและพัฒนาธุรกิจของเขาในที่สุด
จนสุดท้าย Zoom ก็สามารถเปิดตัวอย่างเป็นทางการในปี 2013
และเติบโตมาเรื่อย ๆ นับจากนั้น จนสามารถเข้าระดมทุนในตลาดหุ้น Nasdaq ของสหรัฐอเมริกาได้สำเร็จในปี 2019 หลังจากก่อตั้งเพียงแค่ 8 ปี
แต่จริง ๆ แล้วจุดเปลี่ยนครั้งสำคัญของบริษัทที่เป็นตัวเร่งทำให้ Zoom เติบโตระเบิดเกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้
นั่นก็คือการแพร่ระบาดของโควิด 19 ส่งผลให้คนจำนวนมากต้องทำงานและเรียนหนังสือจากบ้าน
ซึ่งความนิยมของ Zoom ก็พุ่งพรวดอย่างรวดเร็ว
ลองมาดูตัวเลขจำนวนผู้ใช้งาน Zoom รายวัน จะทำให้เราเห็นภาพการเติบโตของ Zoom มากขึ้น
- สิ้นปี 2019 (ช่วงที่โควิด 19 เพิ่งเริ่มระบาด) จำนวนผู้ใช้งาน Zoom รายวัน 10 ล้านคน
- สิ้นปี 2020 จำนวนผู้ใช้งาน Zoom รายวัน 300 ล้านคน
จำนวนผู้ใช้งานรายวันของ Zoom เติบโตขึ้นถึง 2,900%
ที่น่าสนใจคือ วันนี้ Zoom คือ หนึ่งในแพลตฟอร์มการประชุมออนไลน์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก
โดยเฉพาะส่วนแบ่งตลาด Video Conference ในประเทศที่พัฒนาแล้วของ Zoom ที่แซงหน้าอดีตเจ้าตลาดอย่าง Skype หรือแม้แต่บริษัทเทคโนโลยีอย่าง Google และ Microsoft ไปเรียบร้อยแล้ว
- ญี่ปุ่น Zoom ครองส่วนแบ่งตลาด 77%
- สหรัฐอเมริกา Zoom ครองส่วนแบ่งตลาด 60%
- สหราชอาณาจักร Zoom ครองส่วนแบ่งตลาด 55%
โดยในปีที่ผ่านมา รายได้ของ Zoom มาจาก
- สหรัฐอเมริกา 69%
- ยุโรป ตะวันออกกลาง และแอฟริกา 18%
- เอเชียแปซิฟิก 13%
ผลประกอบการของ Zoom Video Communications, Inc. เจ้าของแอปพลิเคชันและแพลตฟอร์ม Zoom
ปี 2018 รายได้ 10,300 ล้านบาท กำไร 250 ล้านบาท
ปี 2019 รายได้ 19,300 ล้านบาท กำไร 682 ล้านบาท
ปี 2020 รายได้ 82,200 ล้านบาท กำไร 20,800 ล้านบาท
รายได้โต 326% กำไรโต 2,950% เมื่อเทียบปี 2020 กับปี 2019
แน่นอนว่า การเติบโตในวันนี้ของ Zoom ส่วนหนึ่งก็มาจากการเกิดขึ้นของวิกฤติโรคระบาด
ซึ่งความท้าทายที่สำคัญของ Zoom คงอยู่ที่ การรักษาฐานลูกค้าให้สามารถใช้งานแพลตฟอร์มของตนเองต่อไป เมื่อวิกฤติครั้งนี้ผ่านพ้นไป
เพราะก็คงยังไม่มีใครที่ฟันธงได้ในตอนนี้ว่า พอโลกของเราเอาชนะวิกฤติครั้งนี้ได้
แอปพลิเคชันหรือแพลตฟอร์มสำหรับประชุมออนไลน์ อย่าง Zoom จะยังเป็นเครื่องมือสำคัญ ในการทำงานของคนทั่วโลก เหมือนในตอนนี้ไหม..
ปิดท้ายด้วยข้อมูลที่น่าสนใจ
ปัจจุบัน มูลค่าบริษัทของ Zoom อยู่ที่ประมาณ 2.7 ล้านล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นกว่า 444% จากมูลค่าบริษัทวันแรกที่เข้าจดทะเบียนในตลาดหุ้น Nasdaq ในปี 2019 ที่ตอนนั้นมีมูลค่ากิจการเท่ากับ 496,000 ล้านบาท
ซึ่งการเติบโตของมูลค่าบริษัท Zoom ทำให้คุณ Eric Yuan ผู้ก่อตั้งและปัจจุบันยังเป็น CEO ของ Zoom กลายมาเป็นบุคคลที่มีทรัพย์สินกว่า 465,000 ล้านบาทไปแล้ว ในวันนี้..
หมายเหตุ: บทความนี้ไม่ได้ชี้นำให้ซื้อขายหุ้นตัวนี้ การลงทุนมีความเสี่ยง โปรดศึกษาข้อมูลให้ครบถ้วนก่อนตัดสินใจลงทุนทุกครั้ง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://finance.yahoo.com/quote/ZM/financials?p=ZM
-https://en.wikipedia.org/wiki/Zoom_Video_Communications
-https://investors.zoom.us/static-files/a17fd391-13ae-429b-8cb3-bfd95b61b007
-https://www.emailtooltester.com/en/blog/video-conferencing-market-share/
-https://www.hebergementwebs.com/seo/zoom-in-on-user-statistics-how-many-people-are-using-zoom-in-2021
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過3,370的網紅網頁設計x廣告行銷,也在其Youtube影片中提到,Subscription歡迎訂閱頤齊邦的YOUTUBE https://goo.gl/mG0yTA --- 【網路行銷】關鍵字SEO 如何增加網站排名 | 搜尋引擎行銷 HOW TO SEM #如何seo #網路行銷 #免費教學 #網站排名優化 #關鍵字SEO SEM WIKI - htt...
「seo wiki」的推薦目錄:
- 關於seo wiki 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
- 關於seo wiki 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
- 關於seo wiki 在 XUAN 劉軒 Facebook 的精選貼文
- 關於seo wiki 在 網頁設計x廣告行銷 Youtube 的最佳解答
- 關於seo wiki 在 Wikipedia & YouTube dominate search results globally, a new ... 的評價
- 關於seo wiki 在 SEO world rankings: Wikipedia and YouTube in fight to ... 的評價
- 關於seo wiki 在 How To Get Wikipedia backlink SEO Tutorial - YouTube 的評價
seo wiki 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
ภาษีมรดกที่มากสุด ในประวัติศาสตร์เกาหลีใต้ และของโลก /โดย ลงทุนแมน
รู้หรือไม่ว่ามรดกจากบรรพบุรุษ ใช่ว่าทายาทจะได้มรดกเต็มจำนวน
เพราะในบางประเทศ รัฐบาลก็มีการเรียกเก็บภาษีมรดก
ซึ่งจะมีการคิดอัตราภาษีมรดกที่แตกต่างกันออกไป
แล้วถ้าการเก็บภาษีมรดกนั้น เกิดขึ้นกับตระกูลที่รวยที่สุดในประเทศ
และตระกูลนั้นยังอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีอัตราภาษีมรดกสูงที่สุดในโลก
ภาษีมรดกนั้นก็จะมีมูลค่ามากกว่า 3 แสนล้านบาท
ซึ่งมูลค่าขนาดนี้พอ ๆ กับทรัพย์สินของบุคคลที่รวยที่สุดของหลายประเทศเลยทีเดียว
แล้วทายาทตระกูลนั้นคือใคร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
ดาวน์โหลดที่นี่ > https://radarspoint.page.link/longtunman
รายละเอียดเพิ่มเติม > https://blog.radarspoint.com/radars-point
╚═══════════╝
จริง ๆ แล้ว การเก็บภาษีมรดก ถูกเสนอให้ใช้เพื่อเป้าหมายหลัก
ในเรื่องการช่วยกระจายรายได้และความมั่งคั่ง ให้มีความเท่าเทียมกันมากขึ้น
ซึ่งในแต่ละประเทศ ก็มีระบบการคิดภาษี และข้อกำหนดด้านอัตราภาษี ที่แตกต่างกันออกไป
เราลองมาดูอันดับประเทศที่เก็บภาษีมรดกสูงที่สุดในโลก 5 อันดับแรก
โดยข้อมูลจะเป็นอัตราภาษีขั้นสูงสุดของแต่ละประเทศ
ญี่ปุ่น 55%
เกาหลีใต้ 50%
ฝรั่งเศส 45%
สหราชอาณาจักร 40%
สหรัฐอเมริกา 40%
ในขณะที่ประเทศไทยของเรา มีการเรียกเก็บภาษีมรดกขั้นสูงสุดที่ 10%..
โดยเรื่องการเก็บภาษีมรดกด้วยอัตราที่สูงขนาดนี้ ก็กำลังเป็นที่พูดถึงอย่างมากในประเทศเกาหลีใต้
ตั้งแต่ช่วงปลายปีที่แล้ว สืบเนื่องมาจากการเสียชีวิตของบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในประเทศนั่นเอง
เมื่อปลายเดือนตุลาคมที่ผ่านมา คุณ Lee Kun-hee
ประธานกรรมการและทายาทรุ่นที่ 2 ของ Samsung Group ได้เสียชีวิตลง
เขาคนนี้ คือผู้ที่ปลุกปั้นแบรนด์ Samsung จนเป็นที่รู้จักและยอมรับไปทั่วโลก
และยังครองตำแหน่งมหาเศรษฐีที่รวยที่สุดในเกาหลีใต้มาอย่างยาวนาน
มูลค่าทรัพย์สินทั้งหมด ณ เดือนตุลาคม ปี 2020 อยู่ที่ 6.6 แสนล้านบาท
นั่นจึงทำให้เรื่องที่คนจับตามองไม่ใช่เรื่องที่ว่าใครจะมารับตำแหน่งประธานบริษัทต่อ
เพราะเป็นที่แน่ชัดแล้วว่าผู้มารับช่วงต่อก็คือลูกชายเพียงคนเดียวของเขา
ซึ่งเป็นรองประธานกรรมการอยู่ก่อนแล้ว
แต่สิ่งที่คนสนใจ ก็คือการถ่ายโอนมรดกของเขาต่อให้กับทายาท
ซึ่งมันจะตามมาด้วยการจ่ายภาษีมรดกมูลค่ามหาศาล
โดยภาษีมรดกนี้ จะถูกเรียกเก็บจากผู้ที่ได้รับมรดก ซึ่งก็ได้แก่ คุณ Hong Ra-hee ภรรยา
คุณ Lee Jae-yong ลูกชายคนโต รองประธานกรรมการ Samsung Electronics
คุณ Lee Boo-jin ลูกสาวคนโต ประธานกรรมการและซีอีโอ Hotel Shilla
คุณ Lee Seo-hyun ลูกสาวคนรอง ประธาน Samsung Welfare Foundation
เมื่อ Samsung เป็นตระกูลรวยที่สุดในประเทศ
แน่นอนว่าต้องถูกคิดอัตราภาษีขั้นสูงสุดที่ 50%
โดยคิดภาษีจากหลักทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์ และทรัพย์สินอื่น ๆ
ในขณะที่ประเทศเกาหลีใต้ มีข้อกำหนดเพิ่มเติมในส่วนของมรดกที่เป็นหุ้นว่า
หากคนที่ได้หุ้นเป็นมรดก จนกลายเป็นผู้ถือหุ้นที่ใหญ่ที่สุดของบริษัท
จะโดนคิดภาษีเพิ่มอีก 20%
ซึ่งหลังจากการจัดสรรมรดกแล้ว คุณ Lee Jae-yong ลูกชายคนโต
จะกลายเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่สุดของ Samsung Electronics และบริษัทในเครือ
นั่นหมายความว่ามรดกส่วนนี้จะโดนเก็บภาษีเพิ่มอีก 20%
ทำให้เมื่อคิดรวมภาษีทั้งก้อนแล้ว
ครอบครัวของคุณ Lee Kun-hee ทั้งหมด
จะถูกคิดภาษีมรดกด้วยอัตราเฉลี่ยกว่า 60%
สูงกว่าอัตราที่สูงที่สุดในโลก ที่ 55% ของญี่ปุ่นเสียอีก
แล้วภาษีที่ต้องจ่าย คิดเป็นเงินเท่าไร ?
การประเมินมูลค่าหุ้นที่ได้รับเป็นมรดก จะคิดจากราคาเฉลี่ย
โดยใช้วันที่ตลาดเปิดทำการล่าสุดก่อนการเสียชีวิต คือวันที่ 23 ตุลาคม 2020 เป็นวันฐาน
และคำนวณราคาเฉลี่ย จากราคาปิดเป็นเวลาทั้งหมด 4 เดือน
นับไป 2 เดือนก่อนหน้า และ 2 เดือนหลังจากวันฐาน
นั่นคือราคาเฉลี่ยของราคาปิดระหว่างวันที่ 24 สิงหาคม ถึง 22 ธันวาคม 2020
เมื่อคำนวณจากราคาเฉลี่ยดังกล่าวแล้ว
หุ้นที่ตกทอดเป็นมรดก จะมีมูลค่ากว่า 5.33 แสนล้านบาท
โดยภาษีมรดกที่ทายาท Samsung ต้องจ่ายทั้งหมด
ถูกคิดในอัตราภาษีมรดกกว่า 60%
จึงทำให้ภาษีที่ต้องจ่ายมีมูลค่ามากถึง 3.36 แสนล้านบาท
ซึ่งมูลค่าดังกล่าวไม่เพียงแต่เป็นภาษีมรดกที่มีมูลค่ามากสุดในประวัติศาสตร์เกาหลีใต้
แต่ยังนับเป็นหนึ่งในภาษีมรดกที่มีมูลค่ามากสุดในโลกอีกด้วย
ก่อนหน้านี้ ภาษีมรดกที่มากที่สุดในเกาหลีใต้ เป็นการจ่ายภาษีของทายาท LG Group
จากการที่คุณ Koo Bon-moo ทายาทรุ่นที่ 2 และประธานกรรมการในขณะนั้น
เสียชีวิตลงในปี 2018 คิดมูลค่าภาษีได้เป็น 25,800 ล้านบาท
นั่นหมายความว่าภาษีที่ทายาท Samsung ต้องจ่าย มีมูลค่ามากกว่าของกลุ่ม LG ถึง 13 เท่า
คำถามต่อมาคือ จะเตรียมเงินมาจากที่ไหน ?
ปกติแล้วความมั่งคั่งเหล่านี้ ส่วนมากจะอยู่ในรูปของการถือหุ้น
อาจมีอสังหาริมทรัพย์หรือทรัพย์สินมีค่าอื่น ๆ เช่น งานศิลปะ ร่วมด้วย
ซึ่งเงินสดที่มีอยู่ ไม่เพียงพอจะจ่ายภาษี
ทางเลือกหลัก ๆ มีอยู่ 2 ทาง
ทางเลือกแรก คือขายหุ้นบางส่วนออกมา โดยเลือกขายหุ้นบริษัทในเครือที่ไม่ใช่ธุรกิจหลัก
แต่วิธีการนี้มีข้อเสียที่สำคัญก็คือ เมื่อจำนวนหุ้นที่ถืออยู่ลดลง
อำนาจในการบริหารก็ลดลงตามไปด้วย
จึงไม่ใช่ทางออกที่ดีเท่าไรนัก
อีกทางเลือกหนึ่ง คือโหวตในที่ประชุมผู้ถือหุ้น ให้เพิ่มการจ่ายเงินปันผล
ในระดับที่เพียงพอต่อการช่วยจ่ายภาษี ซึ่งส่วนใหญ่ก็มองว่าผู้เสียภาษีคงต้องเลือกวิธีนี้
และนั่นจึงสะท้อนให้เห็นจากที่ราคาหุ้นของ Samsung Electronics ปรับเพิ่มขึ้น
หลังมีข่าวการเสียชีวิตของคุณ Lee Kun-hee
ส่วนหนึ่งเพราะเก็งกำไรเรื่องการเพิ่มการจ่ายเงินปันผล เพื่อมาจ่ายภาษีมรดก
โดยทายาท Samsung จะเริ่มจ่ายภาษีก้อนแรกในสิ้นเดือนนี้ จากภาษีทั้งหมด 6 ก้อน ที่สามารถแบ่งจ่ายได้ภายใน 5 ปี
สรุปแล้ว
แม้การจากไปของคุณ Lee Kun-hee จะทำให้ลูกชายอย่างคุณ Lee Jae-yong ได้รับมรดกเป็นหุ้นใน Samsung Electronics และบริษัทในเครือไปเกือบทั้งหมด แต่เขาก็ไม่สามารถก้าวขึ้นมาเป็นคนที่รวยที่สุดในเกาหลีใต้ได้ เพราะการต้องจ่ายภาษีมรดกที่มูลค่ามากที่สุดในประวัติศาสตร์นั่นเอง
เหลือความพีกตอนจบ
ไม่ว่าคุณ Lee Jae-yong จะอยู่อันดับ 4 หรืออันดับ 1 แต่ตอนนี้เขาคงไม่ได้มีโอกาสทำอะไรกับทรัพย์สินของเขาไปสักพัก เพราะตอนนี้เขากำลังโดนจำคุก 2 ปีครึ่ง จากการติดสินบนประธานาธิบดีหญิงเกาหลีใต้คนก่อนชื่อ Park Geun-hye..
╔═══════════╗
5.5 นี้ เปิด Radars Point ก่อนช็อป ได้คืนไปลงทุนให้งอกเงยได้!
.
แค่ช้อป Lazada, Shopee, JD Central ฯลฯ ผ่าน Radars Point รับ Point คืน ให้คุณเลือกลงทุนแผนลงทุนหุ้นทั้งในและต่างประเทศ
.
สำหรับแฟนเพจลงทุนแมนและเป็นผู้ใช้ใหม่ Radars Point กรอกโค้ดลับ LTM8 รับฟรี 8 Point นำไปเริ่มต้นลงทุนฟรีกัน!
.
ดาวน์โหลดที่นี่ > https://radarspoint.page.link/longtunman
รายละเอียดเพิ่มเติม > https://blog.radarspoint.com/radars-point
.
#RadarsPoint
#ลงทุนง่ายๆไม่ต้องใช้เงิน
╚═══════════╝
References
-https://www.bloomberg.com/news/articles/2021-04-28/samsung-heirs-to-pay-11-billion-donate-art-to-settle-tax-bill
-http://www.koreaherald.com/view.php?ud=20201222000929#:~:text=Under%20the%20local%20tax%20rules,percent%20deduction%20for%20voluntary%20reporting.
-https://www.koreatimes.co.kr/www/tech/2021/02/133_301371.html#:~:text=About%20a%2060%20percent%20tax,Foundation%20Chairwoman%20Lee%20Seo%2Dhyun.
-https://www.reuters.com/article/us-samsung-electronics-chairman-wealth-f-idUSKBN27A09I
-https://www.ft.com/content/d9d664fa-0518-11ea-a984-fbbacad9e7dd
-https://www.forbes.com/real-time-billionaires/#6dc240a93d78
-https://en.wikipedia.org/wiki/Lee_Kun-hee
seo wiki 在 XUAN 劉軒 Facebook 的精選貼文
我稍早分享今周刊的「2019全球生育率」文章,立馬有網友提供這個連結,然後點進去發現原來文章引述的所謂官方網站竟然是一個私人架設的,引用的是過時的data。
結果好多台灣媒體照轉貼,還上了電視新聞,我也連帶轉貼了~
不過,其實,真正的數據也沒好到哪裡去。總之,我們的生育率即便不是全球最低,也還是在最後的幾名內!
感謝台灣有了像snopes.com這樣的熱心查證/謠言監督人出現!
我可能吹毛求疵了。
是這樣的, udn.com 聯合新聞網 記者鄧桂芬在昨天寫了篇即時報導:
〈2019全球出生率排名 台灣再吊車尾〉
連結:https://udn.com/news/story/7266/3716193
根據網頁顯示,有 1.5 萬人按讚這則新聞。
我看到之後,覺得很詭異,因為 2019 年還沒過完,現在才三月,要如何得出 2019 年的全球排名呢?
新聞第一句話寫:「我國少子化可說是國際認證!」
接著說:「『世界人口綜述(World Population Review)』日前排出2019年版各國的出生率排名報告,台灣於200個國家中排名吊車尾,平均每名婦女只生1.218名孩子。」
新聞後面則是衛福部國健署長的說法,可能是透過採訪取得。
新聞最後提供了資料來源的連結,也就是新聞中「國際認證」的關鍵。
連結:
http://worldpopulationreview.com/coun…/total-fertility-rate/
看到「世界人口綜述」,我本來以為是一個聯合國或是研究計劃的網站,但點進去看發現更詭異了。
網頁的標頭是「Fertility Rate By Country 2019」,接著,跑出很像內容農場的影片。如果是聯合國或研究型的網站,不太可能會放聯播廣告。但這網站上有很多聯播廣告版面。而且整個網站的架構就......不像是一個正式的網站。
World Population Review 的 about 頁面沒什麼資料。
http://worldpopulationreview.com/about/
根據地址,郵箱設在加州某郵局。
根據 Email (shane@worldpopulationreview.com) 去搜尋,則可以找到 Quora 用戶 Shane Fulmer。
https://www.quora.com/profile/Shane-Fulmer
然後再搜尋 Shane Fulmer ,可以找到他的個人網站:
http://shanefulmer.com/#/
「I'm a freelance web developer living in Lancaster, PA. I love working on projects across the stack, but am currently focused on front-end development using React. I also enjoy writing C# applications and experimenting with data visualization. Aside from programming, I enjoy spending time with my wife, traveling, listening to music, and playing/watching sports.」
所以作者是一位已婚,住在美國賓州蘭卡斯特的網路開發者。(原本寫成英國,感謝 秦紀維留言指出這個錯誤,後面也都更正囉。 )
網站上頭列出了 World Population Review 是他的作品之一。
這個網站的資料的確來自於可信的來源,聯合國、世界銀行,各國政府等等,其實蠻不錯的,但這只是一個工程師的個人計畫。
那麼 2019 年的資料到底是怎麼來的呢?
其實是來自於 2017 年版的聯合國 World Population Prospect 世界人口展望。
https://population.un.org/wpp/
資料以五年為一區隔單位,2015-2020 為一單位。大家可以自己去看看。
但問題是,這數據 #不是出生率 啊,是 #總和生育率 (Total Fertility Rate),而且 2017 之後的數字是 Prospect ,不是已確認的。
什麼是總和生育率呢?簡單來說,就是一位女性在適合生育年齡間(通常是 15-44 歲),會生下的子女總數。
維基百科:https://en.wikipedia.org/wiki/Total_fertility_rate
國發會:https://www.ndc.gov.tw/News_Content.aspx…
而出生率的定義跟總和生育率是不同的。粗出生率 (crude birth rate )的意思是每年、每一千人當中的新生人口數。(感謝 Alice Cheng 在留言中提醒,將出生率改為正確的粗出生率。)
維基百科:
https://zh.wikipedia.org/wiki/%E5%87%BA%E7%94%9F%E7%8E%87
總而言之,聯合報這則新聞的問題是:
1. 引用無公信力之消息來源,但記者可能誤以為網站標題是 World 什麼的就是有公信力的。
2. 沒有追溯回真實的資料出處,並加以檢視。事實上只需要花五分鐘就可以了,就像我上頭做的那樣。而且引用聯合國的資料,不是更有說服力嗎?
3. 不清楚總和生育率跟出生率的差異,以及確切統計跟預估的差異。如果連維基百科都有的資料,也不願意查清楚一下,實在是很麻煩。
但我覺得最嚴重的是缺乏對資訊嚴謹度的要求,這樣的新聞讓我這個讀者覺得很像是在改國中生的作業。
對,我知道很多其他新聞媒體上的東西,已經像是閉著眼睛嗑藥寫出來的了,有國中生程度已經很好了。但聯合報的確是我比較常看的主流新聞媒體,我期望它能更好。
台灣的出生率跟總和生育率都很低,是世界倒數,這無庸置疑,不過寫新聞還是要把資料來源確認好,而不是隨便拿了不知道哪來的資料就開幹。
我印象中有看到臉書上有人轉 World Population Review 的網頁,因為如果要找相關關鍵字,這個網站的確排在第一名。或許記者也是跟我一樣看到朋友分享,就在每天的寫稿壓力之下把一則新聞產製出來。
但這是一則有 1.5 萬人按讚的新聞啊......
國發會昨天花了時間回覆這則充滿錯誤的新聞:
https://www.ndc.gov.tw/News_Content.aspx…
但,儘管國發會已經回覆,聯合報記者張語齡也根據回應寫了一篇即時報導,但並沒有針對原本的第一則報導作出更正。
〈台灣生育率全球倒數第一 國發會:推估數據〉
https://udn.com/news/story/7266/3716456
這則新聞,就只有 71 人按讚了。
接著聯合報記者章凱閎又跟著發了第三篇相關報導:
〈全球生育率排名台灣墊底 學者:數據是舊的、現在更低〉
https://udn.com/news/story/7266/3716816
這則新聞已經有 3700 多人按讚。
新聞採訪的是台大社會系教授薛承泰,是人口學專家,馬政府時代的政務委員。
https://zh.wikipedia.org/wiki/%E8%96%9B%E6%89%BF%E6%B3%B0
新聞開頭繼續引用了「世界人口綜述」這個由美國一位網頁開發者 Shane Fulmer 架的網站,繼續把「出生率」跟「生育率」搞混,沒有把資料來源說清楚(聯合國 2017預估),並且以此作為前提來訪問薛教授。
「對此,台大社會系教授薛承泰受訪時表示,依過往經驗,國際網站的生育率統計,並非採計最新數據;事實上,台灣早在2017年,總生育率就已掉至1.13,去年為1.06,數字連年下修。」
我想,薛教授也不清楚記者採訪他時提到的這個網站是哪來的吧。
然後,聯合報又繼續做這則新聞。張語羚(不知道跟前面那位張語齡是不是同一位)、鄧桂芬、李樹人三位記者共同發表了這則:
〈國發會:目標2030年 生育率回升到1.4人〉
這則的內容,就是...把之前的新聞再寫一次。不過用詞有了細微的變動,在開頭的第一段,就不再提「出生率」,而是正確的生育率。並且用「預估」,而不是一開始的「國際認證」。
然而,有諸多問題的新聞符合著大家的認知,成為了事實,習慣看報問政的立委就以此新聞來質詢衛福部,然後這件事又變成一條聯合報的新聞。
〈生育率全球墊底 衛福部:改善生育環境、養育照顧〉
https://health.udn.com/health/story/5999/3716950
生育率的確很低,但問題是,立委引用的是聯合報引用的不準確資料啊......
然後聯合報又用同樣的資料再寫一篇內容跟先前的幾篇差不多的新聞:
〈國際網站推估 台灣生育率全球最低〉
https://health.udn.com/health/story/5999/3716747
「『世界人口綜述』(World Population Review)網站預估二○一九年版的各國生育率排名,在全球兩百個國家中台灣敬陪末座,平均每個婦女僅生下一點二一八個孩子,引發關注。」
再講一次:所謂的國際網站,就是一位美國賓州蘭卡斯特的網站開發者介接聯合國資料做出來用來靠 SEO 收廣告費的網站。他沒有能力預估什麼,只是把網頁標題寫成 "Fertility Rate By Country 2019",這樣比較能夠被引用跟提高 SEO 效果。
至於「引發關注」,就是聯合報的各位記者創造出來的啊!
然後,剛剛看見今天的 今周刊 網站,毫無守門能力地,硬是從聯合新聞網轉載了這則新聞:
https://www.businesstoday.com.tw/…/2019%E5%85%A8%E7%90%83%E…
當然也要丟到今周刊的臉書專頁上讓大家討論:
https://www.facebook.com/BToday/posts/10157172817263270
說實在的,相較於許多超爛的新聞來說,這則新聞的錯誤實在無傷大雅。台灣出生率低不低?低!總生育率低不低?低!「世界人口綜述」這個網站的數據是不是錯的?因為來自聯合國,不能說是錯的。
所以我在幹嘛?一定有人認為我幹嘛那麼嚴格(請在下面 +1),但...但這樣的內容就是不對勁啊!!!
就讓我偶爾編輯病發作一下吧。
---
更新補充:聯合報另外還有一則內容非常類似的新聞,是由記者李京倫寫的:
〈台灣出生率 全球最後一名〉
連結:https://udn.com/news/story/6809/3716188
這則也有 1 萬讚。
更新補充 2:感謝 Claire Chen 指出,國發會首要是回應自由時報。
https://news.ltn.com.tw/news/world/breakingnews/2737257
其他媒體也都跟著發了這則新聞:
中國時報:台灣少子化嚴重 全球吊車尾
https://www.chinatimes.com/newspapers/20190325000459-260115
中央社有點扯:
「(中央社加州核桃市24日綜合外電報導)根據總部在美國加州核桃市的世界人口綜述公布2019年世界各國出生率排名,在全球200個國家中台灣以每個婦女平均生產1.218個嬰孩,排名墊底。」
哪來什麼「總部設在美國加州核桃市的世界人口綜述」啊...Orz
https://www.cna.com.tw/news/firstnews/201903240187.aspx
---
更新補充 3:
感謝 李安宜 在留言中指出:國發會的回覆其實也有錯!竟然把北韓的 1.893 當成南韓了,所以所有報導國發會回覆的也跟著都錯了...XD
seo wiki 在 網頁設計x廣告行銷 Youtube 的最佳解答
Subscription歡迎訂閱頤齊邦的YOUTUBE
https://goo.gl/mG0yTA
---
【網路行銷】關鍵字SEO 如何增加網站排名 | 搜尋引擎行銷 HOW TO SEM #如何seo #網路行銷 #免費教學 #網站排名優化 #關鍵字SEO
SEM WIKI -
https://en.wikipedia.org/wiki/SEM
Google 搜尋趨勢-
https://trends.google.com.tw/trends/?hl=zh-TW
Search Console - https://www.google.com/webmasters/tools/home?hl=zh-TW
Google Analytics (分析) -
https://analytics.google.com/
seo wiki 在 SEO world rankings: Wikipedia and YouTube in fight to ... 的推薦與評價
SEO world rankings: Wikipedia and YouTube in fight to dominate Google searches globally. Wikipedia is the most visible website in Google's ... ... <看更多>
seo wiki 在 Wikipedia & YouTube dominate search results globally, a new ... 的推薦與評價
Searchmetrics SEO World Rankings study analyzes search results from ten national Google indexes to determine the top ten performers in organic search. ... <看更多>