“วิเคราะห์การเมืองไทยภายใต้หลักบาป 7 ประการของ คานธี”
เมื่อวานเกิดประเด็นทางความคิด ขึ้นมาในช่วงเวลาที่ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้แถลงการณ์ การลาออกจาก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) จึงเกิดความคิดที่จะเขียนบทความขึ้นมา
"อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ" ได้ยกขึ้นมากล่าว ก่อนอำลาสภาผู้แทนราษฏร
"ผมขอยกเอา บาป 7 ประการ ของ มหาตมะ คานธี นักต่อสู้เอกราชชาวอินเดีย ที่เคยเขียนไว้ โดยหนึ่งในนั้นคือ เล่นการเมืองโดยไม่มีหลักการ"
ประโยคในช่วงหนึ่งของการกล่าวประกาสลาออกจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฏรของ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่อ้างอิงมาจากเนื้อหาหนังสือ "Mohandas K. Gandhi, Autobiography: The Story of My Experiments with Truth" ของ มหาตมะ คานธี นักสู้เพื่อเอกราชของประเทศอินเดีย ในยุคอาณานิคมรุ่งเรือง
สำหรับเนื้อหาในบทความนี้ จะวิเคราะห์ตามเนื้อหาหนังสือได้พูดถึงคำกล่าวของ มหาตมะ คานธี ที่เขียนถึง บาป 7 ประการ เอาไว้ว่า
1. Politics without principles. เล่นการเมืองโดยไม่มีหลักการ ปัจจุบันนักการเมืองไทย เล่นการเมืองที่มีหลักการเพื่อประโยชน์สาธารณะ เพื่อปากท้องของประชาชน นั้นมีมากแค่ไหน หรือเล่นการเมืองเพื่อแสวงหาอำนาจตนและเพื่อพวกพ้องในการกอบโกยหวังผลประโยชน์ตากอำนาจทางการเมือง
2. Pleasure without conscience. หาความสุขสำราญโดยไม่ยั้งคิด นักการเมืองไทยมีความสุขความสำราญในการกอบโกยผลประโยชน์จากอพนาจทางการเมือง โดยไม่ยั้งคิด ไม่สนใจหลักการ
3. Wealth without work. ร่ำรวยเป็นอกนิษฐ์โดยไม่ต้องทำงาน การร่ำรวยโดยไม่ต้องทำงาน ก็ต้องเล่นการเมืองแบบเผด็จการประชาธิปไตย ไม่ต้องลงทุนหาเสียง เพียงแค่น้อมรับยอมรับเผด็จการ ก็เป็นช่องทางร่ำรวยโดยใช้อำนาจทางการเมือง
4. Knowledge without character. มีความรู้มหาศาลแต่ความประพฤติไม่ดี การมีความรู้แต่เอาความรู้นั้นไปใช้เพื่อประโยชน์ตนเองและพวกพ้อง บริหารประเทศเป็นบริษัท
5. Commerce without morality. ค้าขายโดยไม่มีหลักศีลธรรม การค้าขายโดยไม่มีหลักศีลธรรมของพ่อค้านายทุนโดยส่วนใหญ่มักจะชอบสนับสนุนใช่ช่วงเวลาเผด็จการประขาธิปไตย คือ ง่ายๆ จ่ายที่เดียวและรวดเร็วได้ประโยชน์สุดคุ้มโดยไม่มองศีลธรรมทางการค้า
6. Science without humanity. วิทยาศาสตร์เลิศล้ำแต่ไม่มีธรรมแห่งมนุษย์ นักการเมืองมองไทยแลนด์ 4.0 มองความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์แบบทุน ไม่ได้มองวิทยาศาสตร์แบบรากหญ้า
7. Worship without sacrifice. บูชาสูงสุดแต่ไม่มีความเสียสละ ในข้อนี้นักการเมืองไทย บางพวกมองเรื่องการใช้อำนาจทางการเมืองสูงสุด ว่าตัวเองมีอำนาจตัวเองมีบารมี ตัวเองทำถูก แต่ในทางตรงกันข้ามการทำถูกนั้นอาจถูกของพ่อค้านายทุนใหญ่ๆของประเทศ มีนักการเมืองน้อยคนที่มองถึงหลักการยอมเสียสละ เพื่อมองหลักการการเมืองที่ถูกต้องในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ด้วยการลาออกในการใช้อำนาจทางการเมือง อย่าง เช่น อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือแม้กระทั่งพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นต้น
「the story of my experiments with truth」的推薦目錄:
the story of my experiments with truth 在 香港作家王迪詩 Facebook 的最讚貼文
誰用暴力,誰就輸了----這幾天收到許多外國朋友來電,他們從外國媒體看見香港催淚彈橫飛,特意來電問候。我告訴他們港式示威是和平的,參與「佔中」的市民自發清理街道,甚至將廢物分類回收,秩序井然。部分學生響應罷課,也上了寶貴的公民課。就算不在課室仍可繼續學習,今天向同學們推薦幾本好書。無論環境如何,永遠不要放棄閱讀。
1.《我對真理的實驗——甘地自傳》(GANDHI An Autobiography: The Story of My Experiments With Truth )歷史上有不少偉大的領袖,最令我心服口服的就是甘地。他說:「非暴力是生命中唯一真實的力量,當我絕望時,我會想起,在歷史上只有真理和愛能得勝。」他從一開始就看穿了一切。誰用暴力,誰就輸了。
這本書是甘地由1925到1929年在雜誌連載的自傳,講述自己的經歷和信念,文筆樸實,讀起來很舒服。他在書中還寫下一些細微的生活經歷,譬如他對健康飲食的看法。「我堅信人除了在襁褓時期必須喝母乳之外,並不需要飲用牛奶。人只需食用經陽光暴曬的水果(例如葡萄)、堅果(例如杏仁),就可以獲得肌肉組織及神經所需的營養;此外,只吃這些食物可以讓男人易於克制情慾,節制其他情感。我與同事們實驗之後都發現,『吃什麼就成為什麼』這句印度俗諺甚有道理。」(甘地另外寫過一本書名為A Guide to Health,專門講他的飲食實驗,有興趣的讀者可細閱。)
令人難忘的是甘地在書中坦白承認自己做過的錯事,例如講大話、違背誓約等等。他曾經立誓終生不喝黃牛或水牛的奶,當然誓約的意思其實是指不喝所有動物的奶,但那時他病重,為了保命就喝了山羊奶,這只是自欺欺人的文字遊戲,違背誓約令他十分自責。我不禁想起現今的政客,違背承諾易過食生菜,當然也不會承認自己食言,甘地卻有這樣的胸襟。他在書中寫道:「追求真理的人應將自己看得比塵埃更不如;世界將塵埃踩在腳下,而追尋真理的人,應當謙卑到為塵土所踐踏。惟有如此,也只有做到這一點,人才得以瞥見真理。」
2. The Heart Is a Lonely Hunter------這是美國作家Carson McCullers的第一本小說。我以前也曾在專欄說過Carson McCullers是我非常喜愛的作家,我喜歡她的程度不亞於Scott Fitzgerald。她是一個音樂神童,十七歲進入茱莉亞音樂學院專攻鋼琴,卻大病一場,之後放棄音樂開始寫作。她寫過一篇小說叫Wunderkind,講一個鋼琴神童的恐懼與失落。對我來說,怎樣才算一本好書?如果你看第二次依然覺得那麼有趣有意思,這就是一本好書,值得佔據書架上寶貴的位置。Carson McCullers 的小說就是這樣,百看不厭。她把人的內心情感描寫得非常細膩,從不說教,卻在故事裏流露人文關懷。The Heart Is a Lonely Hunter 講一個小鎮住一個啞巴,大家都紛紛向他講秘密,訴說自己的悲哀、恐懼、失落的夢想,反正他是啞的就不怕他會把秘密和醜事爆出去,最後這個啞巴自殺。人不能永遠被動地承受世界的悲哀,每個人都需要傾訴,需要溝通啊。
3. Born to Rule: Granddaughters of Victoria, Queens of Europe----這本書非常好看,雖然是歷史書,卻比小說更峰迴路轉,講述維多利亞女皇的孫女,五位公主,五種命運。作者Julia Gelardi 是一位歷史學家,現居美國。讀她的書除了認識歷史,更是一種享受,她的英文流麗得讓人感動。她的其他書也很好看,例如In Triumph's Wake 講皇家母女的光榮與悲哀,From Splendor to Revolution 講俄國皇族女性的命運。(本文摘自4/10/2014王迪詩《信報》專欄)