กทม. ปรับระบบการตรวจคัดกรองใหม่ครับ
1.ใช้ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ซึ่งประชาชนสามารถรู้ผลภายใน 30 นาที โดยได้รับการรับรองจากทางการแพทย์ว่ามีความแม่นยำมากกว่า 90%
2.หากมีผลตรวจเป็นลบ สามารถกลับบ้านได้เลย แต่หากมีผลเป็นบวก คือ ติดเชื้อ หรือมีอาการน่าสงสัยจะส่งเข้ากระบวนการตรวจซ้ำด้วยวิธี RT-PCR ต่อ ณ จุดตรวจเดียวกัน
3.วิธีนี้จะช่วยให้สามารถตรวจค้นหาผู้ติดเชื้อ ณ จุดตรวจเชิงรุกได้เร็วขึ้นจากวันละ 500 - 1,000 คน เป็น 1,000 – 2,000 คน/วัน นอกจากนี้ยังช่วยลดปริมาณการตรวจจำนวนมากของแล็บทำให้สามารถออกผลตรวจ RT-PCR ได้เร็วขึ้นประมาณ 1-2 วัน จากเดิมที่ต้องรอผลนานถึง 3 วัน
4.เนื่องจากการตรวจคัดกรองผ่าน ATK ก่อนจะทำให้เหลือผู้ที่จะต้องตรวจ RT-PCR เหลือเพียง 15%
#ร่วมแรงร่วมใจฝ่ามหันตภัยโควิด
พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เปิดเผยว่า จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่ยังคงเกิดขึ้นทั่วพื้นที่ กรุงเทพมหานครได้เร่งทำการค้นหาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง ทั้งการจัดทีมปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาโควิด-19 (Bangkok CCRT) ลงไปในชุมชน และการตั้งจุดหน่วยเชิงรุกหมุนเวียนในพื้นที่ทุกวัน จำนวน 6 จุด ใน 6 กลุ่มเขต ซึ่งมีประชาชนมาเข้าคิวเพื่อรับการตรวจเป็นจำนวนมากในแต่ละวัน ดังนั้นเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและช่วยในการค้นหาผู้ป่วยได้เร็วยิ่งขึ้น ตั้งแต่วันนี้ (26 ก.ค.64) จึงได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบการตรวจคัดกรองใหม่ โดยการใช้ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ซึ่งประชาชนสามารถรู้ผลภายใน 30 นาที โดยได้รับการรับรองจากทางการแพทย์ว่ามีความแม่นยำมากกว่า 90%
ทั้งนี้ หากมีผลตรวจเป็นลบสามารถกลับบ้านได้เลย แต่หากมีผลเป็นบวก คือ ติดเชื้อ หรือมีอาการน่าสงสัยจะส่งเข้ากระบวนการตรวจซ้ำด้วยวิธี RT-PCR ต่อ ณ จุดตรวจเดียวกัน ซี่งวิธีนี้จะช่วยให้สามารถตรวจค้นหาผู้ติดเชื้อ ณ จุดตรวจเชิงรุกได้เร็วขึ้นจากวันละ 500 - 1,000 คน เป็น 1,000 – 2,000 คน/วัน นอกจากนี้ยังช่วยลดปริมาณการตรวจจำนวนมากของแล็บทำให้สามารถออกผลตรวจ RT-PCR ได้เร็วขึ้นประมาณ 1-2 วัน จากเดิมที่ต้องรอผลนานถึง 3 วัน เนื่องจากการตรวจคัดกรองผ่าน ATK ก่อนจะทำให้เหลือผู้ที่จะต้องตรวจ RT-PCR เหลือเพียง 15% อย่างไรก็ตาม ได้กำชับให้สำนักงานเขตพื้นที่อำนวยความสะดวกโดยจัดที่นั่งพักรอผล 30 นาที และจัดระบบจองคิวล่วงหน้าเพื่อลดความแออัดการรอคอยที่จุดตรวจด้วย
สำหรับผู้ที่รู้ผลการตรวจ ATK เป็นบวก กรณีที่ประเมินทำ HI หรือ CI ได้ ทางโรงพยาบาล หรือ lab เอกชน จะส่งข้อมูลให้ สปสช. (1330) เพื่อให้ สปสช. ส่งผู้ป่วยต่อไปยัง HI CI หรือโรงพยาบาลต่อไป กรณีที่ประเมินทำ HI หรือCI ไม่ได้ ทางโรงพยาบาล หรือ lab เอกชน จะหาเตียงหรือส่งต่อสายด่วน 1330 หรือศูนย์เอราวัณ 1669 ต่อไป
「6 กลุ่มเขต กทม」的推薦目錄:
6 กลุ่มเขต กทม 在 Drama-addict Facebook 的精選貼文
ศูนย์พักคอย ของ กทม.
.
กทม. เร่งจัดตั้ง ศูนย์พักคอย (community Isolation) ในชุมชน เพื่อแยกกักผู้ติดเชื้อโควิด-19 สีเขียว ที่ไม่มีอาการ ให้พักแยกกับคนในครอบครัว ระหว่างรอการนำส่งโรงพยาบาล
.
การแยกกักผู้ติดเชื้อให้มาพักที่ศูนย์พักคอย จะช่วยให้ผู้ป่วยเข้าสู่ระบบการแพทย์ เพื่อรักษาได้อย่างทันท่วงที และลดการระบาดในครอบครัวและชุมชน
.
กทม. ได้เปิด “ศูนย์พักคอย” 17 แห่ง ในพื้นที่ 6 กลุ่มเขต รองรับผู้ป่วย 2,560 ราย และจะจัดตั้งศูนย์พักคอยใน กทม. เพื่อรองรับผู้ป่วยให้ได้มากที่สุด โดยตั้งเป้าหมายไว้ 20 แห่ง เบื้องต้นจะเปิดรับผู้ป่วยเพิ่มได้เป็น 5 แห่ง ในวันที่ 6 ก.ค. 64
.
ซึ่งศูนย์พักคอยในแต่ละกลุ่มเขต จะมี รพ.สังกัด กทม. ดูแลรักษาพยาบาลเบื้องต้น ดังนี้
- กรุงเทพเหนือ (รพ.กลาง ดูแล) รวม 4 แห่ง 610 เตียง
1. เขตบางเขน ศูนย์กีฬารามอินทรา 150 เตียง
2. เขตจตุจักร ศูนย์กีฬาประชานิเวศน์ 190 เตียง
3. เขตจตุจักร ศูนย์สร้างสุขทุกวัย เขตจตุจักร 120 เตียง
4. เขตดอนเมือง ศูนย์สร้างสุขทุกวัย เขตดอนเมือง 150 เตียง
- กรุงเทพกลาง (รพ.เจริญกรุงประชารักษ์ ดูแล) รวม 2 แห่ง 320 เตียง
5. เขตพระนคร วัดอินทรวิหาร (อาคารปฏิบัติธรรม) 170 เตียง
6. เขตดินแดง ศูนย์กีฬาเวสน์ 2 (ศูนย์เยาวชนฯ ไทย- ญี่ปุ่น) 150 เตียง
- กรุงเทพใต้ (รพ.สิรินธร ดูแล) รวม 2 แห่ง 420 เตียง
7. เขตคลองเตย วัดสะพาน 250 เตียง (ศูนย์ฯ แรกต้นแบบ)
8. เขตสวนหลวง ศูนย์ปฏิบัติธรรม วัดปากบ่อ 170 เตียง
- กรุงเทพตะวันออก (รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ ดูแล) รวม 4 แห่ง 620 เตียง
9. เขตหนองจอก ค่ายลูกเสือกรุงเทพวันวาน 200 เตียง
10. เขตลาดกระบัง ร้านอาหาร Boom Boom 120 เตียง
11. เขตสะพานสูง ศูนย์สร้างสุขทุกวัย เขตสะพานสูง 150 เตียง
12. เขตบางกะปิ ศูนย์สร้างสุขทุกวัย เขตบางกะปิ 150 เตียง
- กรุงธนเหนือ (รพ.ตากสิน ดูแล) รวม 2 แห่ง 190 เตียง
13. เขตบางกอกน้อย วัดศรีสุดาราม (รพ.ราชพิพัฒน์) 90 เตียง
14. เขตทวีวัฒนา ศูนย์สร้างสุขทุกวัย (รพ.ตากสิน) 100 เตียง
- กรุงธนใต้ (รพ.หลวงพ่อทวีศักดิ์ ดูแล) รวม 3 แห่ง 400 เตียง
15. เขตบางแค ศูนย์สร้างสุขทุกวัย (เรืองสอน) 150 เตียง
16. เขตบางขุนเทียน ศูนย์สร้างสุขทุกวัย (พระราม2 ซ.69) 100 เตียง
17. เขตภาษีเจริญ วัดนิมมานรดี 150 เตียง
.
ผู้ป่วยโควิดที่เข้าพักในศูนย์พักคอย จะได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่จาก รพ.ในสังกัด กทม. ศูนย์บริการสาธารณสุข มีการประเมินอาการอย่างใกล้ชิด โดยให้ยาตามอาการ ทั้งยาฟาวิพิราเวีย และฟ้าทะลายโจร พร้อมทั้งวัดค่าออกซิเจน วัดไข้ หากผู้ป่วยมีอาการเพิ่มขึ้นจากสีเขียวเป็นสีเหลือง จะรีบส่งเข้ารักษาใน รพ. อย่างปลอดภัย
ผู้ป่วยยืนยันที่ไม่สะดวกในการกักตัวที่บ้าน สามารถติดต่อสำนักงานเขต หรือสายด่วน ศูนย์เอราวัณ 1669 เพื่อเข้าศูนย์พักคอยใกล้บ้าน ซึ่ง กทม.กำลังเร่งดำเนินการให้เปิดศูนย์พักคอยแห่งอื่นๆ ให้เร็วที่สุด เพื่อให้ผู้ติดเชื้อแยกตัวออกจากครอบครัว และชุมชน เข้าสู่ระบบการรักษาให้ได้เร็วที่สุด เพื่อลดการระบาด และลดอัตราการเกิดความสูญเสียครับ
ขอบคุณข้อมูลจาก
https://www.facebook.com/aswinkwanmuang/
6 กลุ่มเขต กทม 在 Drama-addict Facebook 的最佳解答
กรุงเทพมหานคร ได้รายงานความคืบหน้า การเปิดศูนย์พักคอยได้แล้ว 17 แห่ง เพื่อรับผู้ติดเชื้อตามพื้นที่ต่างๆ ในกรุงเทพฯ มาแยกกักรักษาระหว่างรอการส่งตัวไปรักษาที่โรงพยาบาล ซึ่งศูนย์พักคอยทุกแห่ง ได้จัดสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก พร้อมดูแลอาการเจ็บป่วยไม่ให้รุนแรงขึ้น โดยจะมีการให้ ยาฟาวิพิราเวีย ยาฟ้าทะลายโจร มีอุปกรณ์ทางการแพทย์ เครื่องวัดออกซิเจน และอยู่ภายใต้การดูแลของศูนย์บริการสาธารณสุข
สำหรับศูนย์พักคอยทั้ง 17 แห่งในพื้นที่ 6 กลุ่มเขต รองรับผู้ป่วยอยู่ที่ 2,560 คน และกำลังจะเร่งเปิดศูนย์ให้ครบ 20 แห่ง โดยมีโรงพยาบาลในสังกัด กทม. ดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยโควิดเบื้องต้น ในศูนย์พักคอยทั้ง 17 แห่ง ประกอบด้วย
• กรุงเทพเหนือ (รพ.กลาง ดูแล) รวม 4 แห่ง 610 เตียง
1.เขตบางเขน ศูนย์กีฬารามอินทรา 150 เตียง
2.เขตจตุจักร ศูนย์กีฬาประชานิเวศน์ 190 เตียง
3.เขตจตุจักร ศูนย์สร้างสุขทุกวัย เขตจตุจักร 120 เตียง
4.เขตดอนเมือง ศูนย์สร้างสุขทุกวัย เขตดอนเมือง 150 เตียง
• กรุงเทพกลาง (รพ.เจริญกรุงประชารักษ์ ดูแล) รวม 2 แห่ง 320 เตียง
5. เขตพระนคร วัดอินทรวิหาร (อาคารปฏิบัติธรรม) 170 เตียง
6. เขตดินแดง ศูนย์กีฬาเวสน์ 2 (ศูนย์เยาวชนฯ ไทย- ญี่ปุ่น) 150 เตียง
• กรุงเทพใต้ (รพ.สิรินธร ดูแล) รวม 2 แห่ง 420 เตียง
7.เขตคลองเตย วัดสะพาน 250 เตียง เป็นศูนย์ฯ แรกต้นแบบ
8.เขตสวนหลวง ศูนย์ปฏิบัติธรรม วัดปากบ่อ 170 เตียง
• กรุงเทพตะวันออก (รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ ดูแล) รวม 4 แห่ง 620 เตียง
9.เขตหนองจอก ค่ายลูกเสือกรุงเทพวันวาน 200 เตียง
10.เขตลาดกระบัง ร้านอาหาร Boom Boom 120 เตียง
11.เขตสะพานสูง ศูนย์สร้างสุขทุกวัย เขตสะพานสูง 150 เตียง
12.เขตบางกะปิ ศูนย์สร้างสุขทุกวัย เขตบางกะปิ 150 เตียง
• กรุงธนเหนือ (รพ.ตากสิน ดูแล) รวม 2 แห่ง 190 เตียง
13.เขตบางกอกน้อย วัดศรีสุดาราม (รพ.ราชพิพัฒน์) 90 เตียง
14.เขตทวีวัฒนา ศูนย์สร้างสุขทุกวัย (รพ.ตากสิน) 100 เตียง
• กรุงธนใต้ (รพ.หลวงพ่อทวีศักดิ์ ดูแล) รวม 3 แห่ง 400 เตียง
15.เขตบางแค ศูนย์สร้างสุขทุกวัย (เรืองสอน) 150 เตียง
16.เขตบางขุนเทียน ศูนย์สร้างสุขทุกวัย (พระราม2 ซ.69) 100 เตียง
17.เขตภาษีเจริญ วัดนิมมานรดี 150 เตียง
6 กลุ่มเขต กทม 在 เขตในกรุงเทพมหานครมีทั้งหมด 6 โซน มีโซนตรงไหนบ้าง ของ ... 的推薦與評價
เขต ใน กรุงเทพมหานคร มีทั้งหมด 6 โซน มีโซนตรงไหนบ้าง ของกรุงเทพ 50 เขต. Woratle Channel. Woratle Channel. 2.6K subscribers. Subscribe. ... <看更多>
6 กลุ่มเขต กทม 在 Sammakorn - ใช้ชีวิตอยู่กรุงเทพมาก็นาน แต่ยังแบ่งโซนกรุงเทพไม่ ... 的推薦與評價
กรุงเทพมหานคร แบ่งออกทั้งหมด 6 โซน กรุงธนเหนือ - ฝั่งธนบุรี บางกอกน้อย ตลิ่งชันและทวีวัฒนา กรุงธนใต้ - เขตภาษีเจริญ บางขุนเทียน บางบอน กรุงเทพ ... ... <看更多>