0922紐約時報
*【聯合國大會實時更新】
#拜登在聯合國首次亮相,呼籲全球團結起來應對共同威脅。拜登總統在聯合國世界各國領導人年度聚會上發表了他的首次講話,外界對他在前任宣揚“美國優先”孤立主義之後能否讓美國重新成為全球領導地位的能力產生了強烈的懷疑。
#塔利班提名一名聯合國特使,使大會陷入困擾。聯合國官員表示,塔利班提名一名大使在聯合國代表阿富汗,這為該全球組織本已微妙的外交困境注入了新的變化。被推翻的政府特使Ghulam Isaczai迄今仍保留其職位。
#習近平說,中國不會在國外建造更多的燃煤電廠。中國國家主席習近平在聯合國大會上表示,中國將停止在海外推動世界上造成嚴重汙染的化石燃料增長,這是中國應對氣候變化的重要一步。
#伊朗新總統對美國進行了憤怒的譴責。伊朗新任強硬新總統在大會上發表了美國最有力和最憤怒的譴責,指在有關威脅的核協議的談判中,幾乎沒有表現出靈活的跡象,並將美國描述為世界上,一個試圖利用經濟制裁向其敵人施壓但未成功的禍害。
#拜登誓言將在氣候變化方面的援助加倍,這是領導人面臨的關鍵問題之一。拜登總統表示,將尋求將旨在幫助發展中國家應對氣候變化的援助增加一倍,將他在4月份做出的承諾,提高到 2024年每年約 114 億美元。
#抗議者譴責巴西和伊朗的領導人。隨著世界各國領導人就最緊迫的問題向聯合國大會發表講話,抗議者週二走上紐約市集會外的街頭,活動人士抗議巴西總統波索納洛的環境和經濟政策,批評人士稱,這些政策導致亞馬遜雨林遭到破壞,並導致巴西普遍存在飢餓現象。還有抗議者手持伊朗國旗、身穿#FreeIran 襯衫和帽子,舉著標語譴責稱伊朗是犯罪政權。
#杜特蒂指責富國囤積新冠病毒疫苗,而窮人則只能慢慢的等待。
#習近平責備美國,“民主不是個別國家的特殊權利“。中國國家主席習近平在大會演講中駁斥美國將其政府描述為專制、掠奪性和擴張主義的說法,聲稱他支持各國人民的和平發展,民主不是“為個別國家保留的特殊權利”。
#100 萬觀眾收看了聯合國直播,收看韓國流行天團BTS。
#聯合國秘書長敦促各國解決“一連串危機”。古特雷斯呼籲各國採取行動的發人深省的演講中警告說,受到戰爭、氣候變化和持續流行病的威脅,世界正變得越來越分裂。
#巴西總統波索納洛未接種疫苗,他為使用無效藥物來治療冠狀病毒進行辯護,並反駁對其政府環境政策的批評。
https://www.nytimes.com/live/2021/09/21/world/un-general-assembly#xi-jinping-chastises-the-us-saying-democracy-is-not-a-special-right-reserved-to-an-individual-country
*【拜登首次在聯合國發表講話】
在川普政府推行“美國優先”的孤立主義後,拜登試圖使美國重回全球領導地位。他在聯合國大會上呼籲盟友團結一致,應對新冠大流行以及中國、俄羅斯等專制國家的崛起。但在塔利班控制阿富汗、美國幫助澳洲部署核潛艇引發國際爭端後,其外交政策越來越令外界失望。
https://www.nytimes.com/2021/09/21/world/americas/un-general-assembly-biden.html
*【恒大危機背後:中國房地產市場出現裂痕】
恒大曾是中國最高產量的開發商,如今卻被3000多億美元的債務壓得喘不過氣來。專家們對恒大在沒有政府救助的情況下堅持下去的能力以及可能倒閉的後果做出了越來越悲觀的預測。但當前面臨風險的不僅是這家公司的命運,恒大的困境還引發了人們對中國住宅和商業地產市場可能崩潰的擔憂。
https://www.nytimes.com/2021/09/21/business/china-evergrande-bailout.html
*【美英澳防務協議會否加劇亞洲軍備競賽】
隨著中國崛起為軍事超級大國,印度、越南和新加坡已經增加了國防支出,日本也傾向於這樣做。而在美國和英國的支持下,澳洲也參與其中,讓與中國的軍事競爭在亞洲進入一個緊張的新階段。作為回應,中國可能會加快其軍事現代化。這將迫使該地區其他國家升級支出,試圖保持中立的國家也將面臨更大壓力。
https://www.nytimes.com/2021/09/21/world/asia/australia-submarines-china.html
*【杜魯多以微弱優勢贏得加拿大大選,其政黨未能拿下多數席位】
這次選舉選民人數創下新低,杜魯多領導的自由党在議會中的席位幾乎與選舉前相同,其他政黨也是如此。一些加拿大人認為這次選舉毫無結果。批評人士稱,這次投票可能削弱了杜魯多的可信度,並強化了許多人認為他是政治機會主義者的看法。
https://www.nytimes.com/2021/09/21/world/canada/justin-trudeau-election-parliament.html
*【檔案顯示,川普競選團隊自知“選舉陰謀論”毫無根據】
2020年大選結束兩周後,一個與川普關係密切的律師團隊在共和黨總部舉行新聞發佈會,聲稱一家投票機公司與一家投票軟體公司、金融家索羅斯和委內瑞拉合作,把川普的票給偷走。但法庭檔案顯示,川普競選團隊此前已在一份內部備忘錄中寫到,這家投票機公司沒有使用軟體公司的技術,且與委內瑞拉或索羅斯沒有直接關係。
https://www.nytimes.com/2021/09/21/us/politics/trump-dominion-voting.html
*【邊境巡邏隊對待海地移民的影片引發憤怒】
這段視頻讓外界看到了德州發生的混亂情況,並對拜登總統迅速驅逐數千人的決定提出了質疑。
https://www.nytimes.com/2021/09/21/us/politics/haitians-border-patrol-photos.html
*【Covid-19實時更新】
#嬌生公司宣布,該公司施打第二劑疫苗可增強了其對Covid-19 的保護。嬌生公司報告稱,在一項臨床試驗中,研究人員發現,在美國,兩劑疫苗對輕度至重度 Covid-19 的防護力為94%,高於單次注射的74%。兩次注射顯示對防止重症的療效為 100%,但外界對該估計的確實狀況仍有很大的不確定性。
#哈爾濱這個擁有 1000 萬人口的城市中,傳出一名居民確認感染新冠病毒後,週二下令關閉健身房、電影院、浴室、麻將館和其他休閒場所。這些措施正在執行中國政府的“零容忍”方針。
#紐約市下一任市長熱門人選Eric Adams,推動讓關閉的旅店,變成無家可歸者的永久性住所。
#美國旅行禁令的結束,為歐美分離數月的民眾帶來緩解,終於能和家人團圓。
#希臘央行公佈的官方數據顯示,希臘是最早放鬆對旅客的冠狀病毒限制的國家之一,今年夏天外國遊客激增。希臘銀行的數據顯示,希臘在今年前七個月吸引了450 萬外國遊客,比2020年同期增長了 51.4%
#德國一名加油站服務員提醒顧客戴口罩,結果被殺。
#墨爾本的建築工人抗議強制接種疫苗。多達 2,000 名抗議者湧入該市的中央商務區。發佈在社群媒體上的視頻顯示,工人們向警察投擲瓶子並點燃照明彈,而身著防暴裝備的警察則發射橡皮子彈並使用胡椒噴霧。
https://www.nytimes.com/live/2021/09/21/world/covid-delta-variant-vaccine?type=styln-live-updates&label=coronavirus%20updates&index=0
*【谷歌斥資 21 億美元打造曼哈頓辦公大樓】
谷歌宣布,將斥資 21 億美元在哈德遜河濱水區購買曼哈頓辦公大樓,這是近年來美國辦公大樓的最高價格之一,為受疫情影響低迷的房地產市場帶來一絲樂觀的情緒。佔地 130 萬平方英尺的物業,目前正在翻新和擴建。該公司在紐約市擁有 12,000 名企業員工,是加州總部以外最大的衛星辦公室,計劃未來幾年在該市再招聘2,000名員工。
https://www.nytimes.com/2021/09/21/nyregion/google-buys-building-hudson-square.html
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過13萬的網紅The World TODAY,也在其Youtube影片中提到,英國《#經濟學人》(The Economist)上週公布2020年的「#民主指數」(Democracy Index)報告,#台灣 比2019年上升20個名次,成東亞之首、全球排名第11。但以全球局勢來看,民主趨勢卻是倒退,全世界的民主到底發生什麼事了? ▌2020 民主指數排名 1. 挪威 🇳🇴(...
「democracy index」的推薦目錄:
- 關於democracy index 在 文茜的世界周報 Sisy's World News Facebook 的精選貼文
- 關於democracy index 在 傑拉德-知足常樂 Facebook 的最佳解答
- 關於democracy index 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
- 關於democracy index 在 The World TODAY Youtube 的最佳貼文
- 關於democracy index 在 The Economist Intelligence Unit's Democracy Index — eiu ... 的評價
- 關於democracy index 在 台灣民主Taiwan, China and Norway's democracy index score 的評價
democracy index 在 傑拉德-知足常樂 Facebook 的最佳解答
民主與足球的關係?
一個國家民主程度愈高,足球實力愈有望提高?從EIU Democracy Index 2020的列表可見,兩者似乎存在某些「隱性」關係。
根據24支歐國盃球隊的民主程度分類,再以小組賽的得失球作為排位,發現最缺民主的國家俄羅斯和土耳其相繼出局,而民主程度較低的波蘭、克羅埃西亞、烏克蘭、斯洛伐克和匈牙利之中,僅得兩支球隊成功出線。排名較後的瑞士和蘇格蘭民主程度較高,前者晉級,後者出局。
再看成績最好的義大利、荷蘭、西班牙和比利時,4個國家不約而同是民主程度較高的球隊,其中荷蘭、瑞典、丹麥、德國、英格蘭等均屬圖中最民主國家前列,究竟是不是純粹巧合呢?
不過,這數據可能只限歐洲合適,哈哈!
democracy index 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
ทำไม นิวซีแลนด์ จึงเป็นประเทศแห่ง ผลิตภัณฑ์นม ? /โดย ลงทุนแมน
ซีรีส์บทความ “Branding the Nation”
หากพูดถึงนิวซีแลนด์ สัตว์เลี้ยงที่คนทั่วโลกนึกถึง ก็คงจะเป็น “แกะ”
เพราะประเทศหมู่เกาะแห่งนี้มีประชากรแกะมากถึง 27.3 ล้านตัว
คิดเป็นเกือบ 6 เท่า ของประชากรคนที่มีอยู่ 5 ล้านคน
แต่นิวซีแลนด์ไม่ได้มีแค่แกะเท่านั้นที่มีจำนวนมากกว่าคน
เพราะปศุสัตว์อีกชนิดหนึ่งที่มีมากกว่าคนก็คือ “โคนม”
นิวซีแลนด์มีวัวอยู่ราว 6.1 ล้านตัว ผลิตนมส่งออกปีละ 1.5 ล้านตัน
จนกลายเป็นประเทศที่ส่งออกนมมากที่สุดในโลก มูลค่าปีละ 200,000 ล้านบาท
และคิดเป็นสัดส่วนถึง 20% ของการส่งออกนมทั่วทั้งโลก
ไม่ใช่แค่ปริมาณ แต่ผลิตภัณฑ์นมของนิวซีแลนด์ยังขึ้นชื่อในเรื่องของคุณภาพ
และมีการสร้างจุดเด่นให้กับผลิตภัณฑ์นม ให้สามารถตอบโจทย์กับลูกค้าที่แตกต่างกันออกไป
ไม่ว่าจะเป็นนม Anlene ที่เน้นในเรื่องของการบำรุงกระดูก
หรือนม Anmum ที่มีกลุ่มเป้าหมายหลักเป็นคุณแม่ที่กำลังตั้งครรภ์และให้นมลูกน้อย
อะไรที่ทำให้ประเทศหมู่เกาะโดดเดี่ยว ที่อยู่ห่างไกลจากประเทศอื่นมากที่สุด
ก้าวขึ้นมาเป็นประเทศผู้นำด้านผลิตภัณฑ์นมระดับโลก ?
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ซีรีส์บทความ “Branding the Nation” ปั้นแบรนด์ แทนประเทศ
ตอน ทำไม นิวซีแลนด์ จึงเป็นประเทศแห่ง ผลิตภัณฑ์นม ?
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ย้อนกลับไปในปี 1649
Abel Tasman นักสำรวจชาวดัตช์ได้ล่องเรือจากเกาะชวามาค้นพบเกาะแห่งหนึ่งโดยบังเอิญ
แต่ในตอนนั้นเขาถูกต่อต้าน และคุกคามโดยชาวพื้นเมืองบนเกาะ
ทำให้เขาต้องรีบถอยกองเรือออกมา โดยแทบไม่ได้สำรวจอะไรบนเกาะแห่งนี้เลย
Tasman ตั้งชื่อเกาะนี้ว่า “New Zealand”
ตามชื่อแคว้น Zeeland ทางตอนใต้ของเนเธอร์แลนด์
ความลึกลับของนิวซีแลนด์คงอยู่ต่อมาจนถึงปี 1769 เมื่อกัปตันชาวอังกฤษ James Cook
ได้ล่องเรือมาสำรวจดินแดนแห่งนี้อย่างละเอียด พบว่าดินแดนนิวซีแลนด์มีเกาะใหญ่หลัก ๆ
อยู่ 2 เกาะคือ เกาะเหนือและเกาะใต้
ด้วยภูมิอากาศอบอุ่น และมีฝนตกตลอดทั้งปีคล้ายกับเกาะอังกฤษ จึงเริ่มมีชาวอังกฤษ
และชาวยุโรปอื่น ๆ อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ส่วนใหญ่เป็นนักเดินเรือ เป็นพ่อค้า และเป็นเกษตรกร
แต่ดินแดนแห่งนี้มีชาวพื้นเมืองอยู่แล้ว คือ “ชาวเมารี”
เมื่อชาวยุโรปอพยพมาอยู่มากเข้า ก็เริ่มมีปัญหาจนนำมาสู่ความขัดแย้งหลายครั้ง
ทั้งระหว่างชาวเมารีกับชาวยุโรป และระหว่างชาวเมารีด้วยกันเองที่ต้องการซื้อปืนจากชาวยุโรปเพื่อมาทำสงครามระหว่างเผ่า จนนำมาสู่การเสียชีวิตของชาวเมารีหลายหมื่นคน
จนในปี 1840 อังกฤษก็ได้เชิญหัวหน้าเผ่าชาวเมารีกว่า 500 เผ่า มาทำข้อตกลงร่วมกัน
ด้วยการยอมรับให้ดินแดนนิวซีแลนด์อยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ โดยชาวเมารีจะมีสิทธิ์ในทรัพย์สินและที่ดินของตนเอง และได้รับสิทธิ์อื่น ๆ เช่นเดียวกับชาวอังกฤษทุกประการ
ข้อตกลงนี้เรียกว่า สนธิสัญญาไวทังกิ (Treaty of Waitangi)
ซึ่งนับเป็นจุดเริ่มต้นของนิวซีแลนด์ ในการเป็นอาณานิคมอังกฤษอย่างเป็นทางการ..
เจ้าอาณานิคมได้เข้ามาวางรากฐานระบบต่าง ๆ ให้กับนิวซีแลนด์
ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา การปกครอง และศาสนา
คณะมิชชันนารีชาวอังกฤษได้นำศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์เข้ามาเผยแผ่ให้กับชาวเมารี
และก็เป็นคณะมิชชันนารีนี่เอง ที่นำแกะและวัวพันธุ์ชอร์ตฮอร์น เข้ามาสู่นิวซีแลนด์ และเริ่มส่งเสริมให้มีการทำฟาร์มเลี้ยงวัวอย่างจริงจังในช่วงทศวรรษ 1840s
นิวซีแลนด์มีฝนตกตลอดทั้งปี และมีทุ่งหญ้ากว้างใหญ่ โดยเฉพาะที่ราบไวกาโตบนเกาะเหนือ และที่ราบแคนเทอร์เบอรี, ที่ราบโอตาโกบนเกาะใต้
บริเวณเหล่านี้ ค่อย ๆ เติบโตกลายเป็นเขตเลี้ยงวัวที่สำคัญ ที่มีการผลิตทั้งนม เนย ชีส ซึ่งในช่วงแรกก็มีไว้สำหรับบริโภคภายในประเทศ
แต่เมื่อมีการพัฒนาระบบตู้เย็นในช่วงทศวรรษ 1880s นิวซีแลนด์ก็เริ่มส่งออกผลิตภัณฑ์นม
ไปยังดินแดนอื่น ๆ และมีการตั้งโรงงานเนยแห่งแรก คือ “Anchor” ในปี 1886
ซึ่งปัจจุบันได้ก้าวขึ้นมาเป็นหนึ่งในแบรนด์นม และเนยคุณภาพสูงที่คนทั้งโลกรู้จัก
ความอุดมสมบูรณ์ของนิวซีแลนด์ ดึงดูดชาวยุโรปให้อพยพเข้ามาอยู่มากขึ้น
ผู้คนเหล่านี้ก็นำองค์ความรู้และเครื่องจักรในยุคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะเครื่องรีดนมวัว
ทำให้เกษตรกรสามารถเพิ่มจำนวนวัวที่เลี้ยงได้มากขึ้น ปริมาณผลผลิตก็เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
ข้อได้เปรียบของการทำฟาร์มโคนมในนิวซีแลนด์ คือการมีทุ่งหญ้ากว้างใหญ่ ทำให้มีอาหารเพียงพอจนสามารถเลี้ยงวัวในระบบฟาร์มเปิด ที่ให้วัวเดินหาอาหารได้อย่างเป็นธรรมชาติ
ช่วยให้วัวมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์พร้อมสร้างน้ำนมคุณภาพเยี่ยม
แต่ข้อได้เปรียบด้านภูมิศาสตร์ไม่ใช่ปัจจัยเดียวที่ทำให้ผลิตภัณฑ์นมของนิวซีแลนด์สามารถโดดเด่นขึ้นมาในระดับโลก เพราะยังมีองค์ประกอบอื่น ๆ อีกหลายประการ ไม่ว่าจะเป็น
ประการที่ 1 ระบบสหกรณ์ที่เข้มแข็ง
ระบบสหกรณ์ (Cooperative) เป็นอีกหนึ่งมรดกตกทอดจากอังกฤษ ซึ่งเป็นผลพวงมาจากยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม เมื่อผู้ประกอบการรายย่อย และเกษตรกรได้รวมตัวกันก่อตั้งสหกรณ์ เพื่อต่อสู้กับเหล่านายทุนเจ้าของโรงงาน
สหกรณ์จะมีการระดมทุนจากสมาชิกที่มีอาชีพเดียวกัน เพื่อให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สมาชิกที่ขาดแคลนเงินทุนในอัตราดอกเบี้ยถูก และให้ผลตอบแทนแก่สมาชิกที่เป็นผู้ฝากเงิน
สหกรณ์ยังให้ความรู้ด้านการประกอบอาชีพ จัดหาวัตถุดิบ จัดหาตลาด กำหนดราคาสินค้า
ไปจนถึงการนำเงินทุนมาลงทุนตั้งโรงงานผลิต และผลิตสินค้าต่าง ๆ โดยทรัพย์สินของสหกรณ์จะถือเป็นของส่วนรวม และสมาชิกทุกคนจะถือเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกัน
สหกรณ์แห่งแรกของนิวซีแลนด์ คือ Otago Cooperative Cheese Co. ก่อตั้งในปี 1871
เกิดจากการรวมตัวของกลุ่มเกษตรกรเจ้าของฟาร์มโคนมในแถบที่ราบโอตาโกในเกาะใต้
เพื่อตั้งโรงงานผลิตชีส เกษตรกรผู้เป็นสมาชิกจะถือหุ้นส่วนตามสัดส่วนผลผลิตนมที่ส่งให้กับสหกรณ์ และสมาชิกก็จะได้เงินปันผล หากสหกรณ์มีกำไร
ด้วยความที่ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 นิวซีแลนด์เป็นประเทศใหม่ที่ยังไม่ค่อยมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมมากนัก ทำให้ไม่มีเจ้าของโรงงาน หรือชนชั้นนายทุนมาขัดขวาง
ระบบสหกรณ์จึงเติบโต และเจริญก้าวหน้าในนิวซีแลนด์ได้ดีกว่าหลายประเทศในยุโรป
สมาชิกทุกคนไม่ว่าชายหรือหญิงจะมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและการตัดสินใจของสหกรณ์ ซึ่งนโยบายเหล่านี้ใช้หลักประชาธิปไตยเป็นสำคัญ สมาชิก 1 คน มีสิทธิ 1 เสียงเท่าเทียมกัน ระบบสหกรณ์จึงค่อย ๆ หยั่งรากประชาธิปไตยให้ฝังลึกลงในสังคมนิวซีแลนด์มาตั้งแต่ยุคนั้น
และเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้นิวซีแลนด์ เป็นประเทศที่มีดัชนีประชาธิปไตย (Democracy Index)
อันดับ Top 5 ของโลกในปัจจุบัน..
การรวมกลุ่มในลักษณะสหกรณ์ ช่วยทำให้เกษตรกรมีอำนาจต่อรองกับนายทุน มีส่วนร่วมในการกำหนดราคาสินค้า ทิศทางการตลาด และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
และเกษตรกรยังได้รับผลตอบแทนอย่างเหมาะสม ทั้งผลตอบแทนจากการขายนมให้แก่สหกรณ์ และผลตอบแทนในรูปปันผลจากกำไรของสหกรณ์
ซึ่งในปัจจุบัน สหกรณ์ถือเป็นโครงสร้างสำคัญของเศรษฐกิจนิวซีแลนด์
สหกรณ์ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ 30 แห่ง สร้างรายได้ต่อปีคิดเป็นสัดส่วนถึง 17.5% ของ GDP ประเทศ
สหกรณ์ที่ใหญ่ที่สุดของนิวซีแลนด์ คือ Fonterra Co-operative Group Limited
ซึ่งเกิดจากการควบรวมสหกรณ์โคนมหลายร้อยแห่งทั่วประเทศในปี 2001
Fonterra Co-operative Group Limited ยังจดทะเบียนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์นิวซีแลนด์อีกด้วย และมีมูลค่าบริษัทสูงกว่า 140,000 ล้านบาท
ประการที่ 2 ความร่วมมือจากภาครัฐในการวิจัยและพัฒนาอย่างจริงจัง
หลังจากได้รับเอกราชจากอังกฤษในปี 1907 รัฐบาลนิวซีแลนด์ก็ได้ออกกฎหมายอุตสาหกรรมโคนมในอีก 1 ปีต่อมา เพื่อควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์นม ตั้งแต่ต้นน้ำ คือ การเลี้ยงวัว
มีการควบคุมโรงเลี้ยงวัวให้มีมาตรฐาน ถูกสุขอนามัย สายพันธุ์วัวจะต้องมีการเก็บข้อมูลทางพันธุกรรมอย่างเป็นระบบ ผ่านสมาคมเพาะพันธุ์วัว หรือ Breed Association ที่จัดตั้งขึ้นในปี 1914 เพื่อคัดเลือกพันธุ์ดีที่สุด ให้น้ำนมมากที่สุด เพื่อให้ผลิตภัณฑ์นมมีคุณภาพ
กลุ่มสหกรณ์โคนมยังได้รวมกันตั้ง Livestock Improvement Corporation (LIC) ในปี 1909 เพื่อเป็นบริษัทที่ให้บริการข้อมูลด้านพันธุศาสตร์มาช่วยปรับปรุงสายพันธุ์วัว เก็บรักษาน้ำเชื้อพ่อวัวพันธุ์ดี และให้บริการผสมเทียมแก่แม่วัวที่เริ่มมาตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1950s
ในเรื่องของการควบคุมคุณภาพ มีการตั้งคณะกรรมการโคนมแห่งนิวซีแลนด์ หรือ
New Zealand Dairy Board เป็นคณะกรรมการด้านกฎหมายที่ควบคุมการส่งออกผลิตภัณฑ์นมของนิวซีแลนด์ทั้งหมด คอยควบคุมมาตรฐานผลิตภัณฑ์นมส่งออกมาตั้งแต่ปี 1923
ประการที่ 3 การสร้างจุดเด่นให้กับผลิตภัณฑ์นม
ข้อนี้เป็นปัจจัยสำคัญที่สุดสำหรับผลิตภัณฑ์นมของนิวซีแลนด์ หลังจากที่นิวซีแลนด์ก้าวขึ้นมาเป็นผู้ส่งออกนมอันดับ 1 ของโลกในช่วงทศวรรษ 1970s
แต่ด้วยความที่นิวซีแลนด์เป็นประเทศรายได้สูง ซึ่งส่งผลมาสู่ค่าแรงที่สูง และดันให้ราคาของผลผลิตนมสูงตามไปด้วย การที่จะต่อสู้กับผลิตภัณฑ์นมจากประเทศอื่น ๆ ที่มีค่าแรงถูกกว่าได้
จำเป็นจะต้องสร้างความแตกต่าง และความโดดเด่นให้กับผลิตภัณฑ์
เพื่อส่งเสริมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ รัฐบาลได้จัดตั้ง New Zealand Food Innovation Network (NZFIN) หน่วยงานที่สังกัดกระทรวงธุรกิจ นวัตกรรม และการจ้างงาน เพื่อให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ทั้งการวิจัยผลิตภัณฑ์ การทดสอบกับกลุ่มลูกค้า การผลิตในขนาดเล็ก ไปจนถึงวางแผนการผลิตจริง
ในปี 2008 เพื่อความสะดวกในการวางแผนการตลาด และการแข่งขันกับตลาดโลก
สหกรณ์โคนมหลายร้อยแห่งของนิวซีแลนด์ จึงได้รวมตัวกันให้กลายเป็นสหกรณ์โคนมขนาด
ใหญ่เพียง 3 แห่ง ประกอบไปด้วย
1. สหกรณ์ Fonterra เป็นสหกรณ์โคนมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ครองส่วนแบ่งการตลาด
มากกว่า 80% มีแบรนด์ผลิตภัณฑ์นมในเครือหลายสิบแบรนด์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
ทั้งนม Anlene ที่มีปริมาณแคลเซียมสูง มีหลายสูตรเหมาะสำหรับผู้สูงอายุ
นม Anmum ที่มีแคลเซียมและโฟเลตสูง เป็นสูตรเฉพาะสำหรับคุณแม่ที่ตั้งครรภ์และให้นมลูก
และเนย Anchor เป็นเนยที่ผลิตจากครีมแท้ 100% จากน้ำนมที่ได้มาตรฐานสูงสุด
2. สหกรณ์ Tatua เป็นสหกรณ์ที่เน้นผลิตสินค้าที่มีมูลค่าสูงเกี่ยวกับนม เช่น สารสกัดโปรตีนจากนม สารสกัดไขมันจากนม และผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก
3. สหกรณ์ Westland เน้นผลิตภัณฑ์สินค้าประเภทนมผง เวย์โปรตีน เคซีน และผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสำหรับเด็ก
จะเห็นได้ว่า สหกรณ์ทั้ง 3 แห่ง ล้วนมี “จุดเด่น” ของผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างกันออกไป
แต่สิ่งที่เหมือนกันคือการสร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์ ที่ต่อยอดมาจากน้ำนมธรรมดา
นิวซีแลนด์เป็นประเทศร่ำรวยไม่กี่ประเทศ ที่สินค้าส่งออกถึง 70% มาจากภาคเกษตรกรรม
โดยผลิตภัณฑ์นม ทั้งนม เนย ชีส นมผง และเวย์ คิดเป็นสัดส่วน 18% ของสินค้าส่งออกทั้งหมด
ภาคการเกษตรใช้แรงงาน 5.5% ของแรงงานชาวนิวซีแลนด์
แต่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจถึง 7% ของ GDP
ซึ่งขัดกับประเทศกำลังพัฒนาในหลายประเทศที่ใช้แรงงานในภาคการเกษตรมาก แต่ไม่สามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้มาก
ความโชคดีของประเทศนี้ คือการที่มีทุ่งหญ้ากว้างใหญ่ มีภูมิอากาศเหมาะสม มีหญ้ามากเพียงพอที่จะทำให้วัวมีสุขภาพดี และให้นมคุณภาพสูง
แต่สิ่งเหล่านี้จะยั่งยืนไม่ได้เลย หากขาดระบบสหกรณ์ที่เข้มแข็ง ความช่วยเหลืออย่างจริงจังจากภาครัฐ และความร่วมมือกันในการวางแผนพัฒนาจุดเด่นให้กับผลิตภัณฑ์นม
จนต่อไปสู่ฐานลูกค้ากลุ่มใหม่ สร้างความ “พรีเมียม” ให้กับแบรนด์สินค้า
และสร้างมูลค่าเพิ่มจากน้ำนมธรรมดาอย่างมหาศาล
นับตั้งแต่ปี 1970 นิวซีแลนด์ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศผู้ส่งออกนมอันดับ 1 ของโลก
ในแง่ของมูลค่า มาได้อย่างต่อเนื่อง
ไม่มีใครรู้ว่าตำแหน่งจะถูกเปลี่ยนมือไปเมื่อไร แต่จากบทความทั้งหมดที่กล่าวมา
ก็พอจะคาดเดาได้ว่า “นิวซีแลนด์” น่าจะยังอยู่ในตำแหน่งนี้ ต่อไปอีกยาวนาน..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.statista.com/statistics/974482/new-zealand-dairy-cattle-numbers/
-https://teara.govt.nz/en/dairying-and-dairy-products
-https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/download/182277/153930/
-https://www.ica.coop/en/newsroom/news/new-report-co-operative-economy-new-zealand
-https://theeconreview.com/2017/02/22/new-zealand-the-model-for-farms-of-the-future/
-https://www.gtreview.com/magazine/volume-15issue-5/milk-new-zealands-dairy-exports-conquered-world/
-https://www.stats.govt.nz/experimental/which-industries-contributed-to-new-zealands-gdp
democracy index 在 The World TODAY Youtube 的最佳貼文
英國《#經濟學人》(The Economist)上週公布2020年的「#民主指數」(Democracy Index)報告,#台灣 比2019年上升20個名次,成東亞之首、全球排名第11。但以全球局勢來看,民主趨勢卻是倒退,全世界的民主到底發生什麼事了?
▌2020 民主指數排名
1. 挪威 🇳🇴(9.81 分)
2. 冰島 🇮🇸(9.37 分)
3. 瑞典 🇸🇪(9.26 分)
4. 紐西蘭 🇳🇿(9.25 分)
5. 加拿大 🇨🇦(9.24 分)
6. 芬蘭 🇫🇮(9.20)
7. 丹麥 🇩🇰(9.15)
8. 愛爾蘭 🇮🇪(9.05)
9. 澳洲 🇦🇺(8.96)
10. 荷蘭 🇳🇱(8.96)
11. 台灣 🇹🇼(8.94)
《TODAY 看世界》天天帶你瞭解世界大小事!
👀 所有報導 https://lin.ee/7MAbPS0
訂閱 LINE TODAY 官方帳號,全球脈動不漏接!
📱 訂閱起來 https://lin.ee/19eXmdD
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/fvvQqTxEVog/hqdefault.jpg)
democracy index 在 The Economist Intelligence Unit's Democracy Index — eiu ... 的推薦與評價
A dataset containing the country-year version of the democracy index compiled by the Economist Intelligence Unit, 2006-2020. From the report "Democracy ... ... <看更多>