[收費短片第九擊]坐穩啦喂
TLDR:中美科技股大瀉點算好?睇片(https://bityl.co/3NQp)
1. 呢排科技股大瀉,Tesla話咁快高位就跌兩成,蘋果都跌一成幾。高追嘅話咁快就中伏—但都冇計。元兇聽講係啲友不停買期權,其實咪即係槓杆,即係借錢,咁升嗰時當然係positive feedback loop,但跌時就亦一樣,人踩人。
2. 當然普遍散戶冇咁嘅力量,但側聞甚至有相當大份量嘅「大戶」參與。邊位「大戶」?正係孫正義嘅Softbank,聽聞唔只公司賭,佢仲個人保證,賠錢佢自己注資。所以你見今日Softbank股價跌7%,間接拖低埋日經指數(Softbank可係日經指數第二重磅股)。以上種種,Patreon 有講(https://bit.ly/31QmYj7)
3. 咁但,好難夾硬去拗,點解11500點就唔貴,12000點就貴。比較似混沌天氣咁,忽然間拍一拍翼就颱風,並唔係線性邏輯咁推論。收費短片第八擊(https://bityl.co/3NPn)講美國大選部署已經提過,大選年9月10月係例牌弱嘅,原因唔知,但似乎真係同大選有關。甚至呢樣嘢有冇根據都不重要,同啲「技術分析」一樣,信嘅人夠多,自然就自我實現。而反正科技股貴,都講咗好耐,爭在去到邊個位會回。當然事前係估唔到的。
4. 你見而家「港版納指」恒生科技指數仲跌5%,相比之下恒指同國企跌幅細好多(仲要入面有科技股),明顯見到仲未瀉完。
5. 今次收費短片第九擊(https://bityl.co/3NQp)有提,其實由上星期三四開始已見到有先兆,留意當時都未知咩孫正義之類,但真係有先兆。先兆唔同原因,先兆係你見到啲蛇蟲鼠蟻青蛙走人,但你唔知點點。星期三四就已經見到啲蛇蟲鼠蟻—回返帶,星期三晚美股仲係大升,但最強勢嘅蘋果Tesla已回。然後星期四港股ATMX(阿里騰訊美團小米)勁跌。詳情自己睇片(https://bityl.co/3NQp)
6. 咁,點算好?而家飛入去買未?如果唔想買科技股又有咩其他可以睇?入面都有講。
——————————————————————————
[收費短片第九擊]美股科技股是否泡沫爆破?價值投資之選
課程資訊:https://homebloggerhk.com/course_detail/?code=CC009
內容:
*美股急跌點算好
*科技股係咪泡沫爆煲?
*有乜價值投資之選?
本星期內特惠售價: $80
課程編號:CC009
觀看期限:首次播放後一星期及限每影片4次
客服whatsapp: 63832145
另外想買返第八擊(美國總統大選股票部署)都仲可以:https://bityl.co/3NPn
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過6,900的網紅Ha & Phong Talk,也在其Youtube影片中提到,? Giới thiệu phương pháp giúp tự có động lực liên tục ? Động lực luôn là một vấn đề lớn. Làm sao để có động lực liên tục để thực hiện những mục tiêu l...
「positive feedback loop」的推薦目錄:
- 關於positive feedback loop 在 君子馬蘭頭 - Ivan Li 李聲揚 Facebook 的最讚貼文
- 關於positive feedback loop 在 หมอแพมชวนอ่าน Facebook 的最讚貼文
- 關於positive feedback loop 在 หมอแพมชวนอ่าน Facebook 的最讚貼文
- 關於positive feedback loop 在 Ha & Phong Talk Youtube 的最佳解答
- 關於positive feedback loop 在 #ミニマリストライフ Youtube 的最佳解答
- 關於positive feedback loop 在 Positive Feedback Loop - 首頁| Facebook 的評價
positive feedback loop 在 หมอแพมชวนอ่าน Facebook 的最讚貼文
#ชมลูกอย่างไรให้เกิดGrowth_mindset🌳🌾
ถ้าใครเคยอ่านหนังสือเรื่อง mindset ของ Dr.Carol Dweck
จะพบว่า ใจความสำคัญที่ Dr.Carol
พยายามจะสื่อให้กับผู้ปกครองและครู
ก็คือ
1. #mindset_ก่อร่างสร้างตัวตั้งแต่เด็กช่วงปฐมวัย
(หนึ่งในการทดลองที่อ้างอิงถึงในหนังสือ ผู้เข้าร่วมคือ เด็กอายุ 4 ขวบ)
2. #สารที่พ่อแม่และครูส่งให้กับลูกมีบทบาทสำคัญในการสร้างmindsetของเด็ก
สารที่ว่า ก็คือ ทัศนคติที่พ่อแม่ ครู ผู้ใหญ่ ส่งให้เด็กรับรู้
ว่า เค้าจะได้รับความรัก ได้รับคำชื่นชม เมื่อเค้าเป็นอย่างไร
.
หลังจากที่เด็กสร้าง self ตอนอายุประมาณ 3 ขวบ
เค้าก็อยากจะเป็นส่วนหนึ่งของโลก
โลกของเด็กเล็ก คือคนที่เค้ารัก
ได้แก่ พ่อแม่ ครู ผู้ใหญ่รอบตัว
ดังนั้น วิธีคิด มุมมอง ทัศนคติ ค่านิยม ของพ่อแม่ ครู
ก็จะกลายเป็นส่วนหนึ่งของ mindset ของเด็ก ไปโดยปริยาย
.
ถ้าเด็กรับรู้ว่า
เค้าต้องเก่ง, ไม่ผิดเลย, ฉลาดจัง, อัจฉริยะชัดๆ, สุดยอด, ไม่พลาดเลยนะ etc.
ถึงจะเป็นที่นิยมชมชอบ
เพราะฉะนั้น คนเก่งจะต้องไม่เกิดความผิดพลาด
ต้องดูเหมือนพวกฉลาดแต่เกิด เป็นอัจฉริยะ
(ไม่ต้องพยายามมาก ก็เหนือกว่าคนอื่น)
บางคนพยายามหนักมากหลังฉาก แต่เบื้องหน้าต้องทำเป็นฉันไม่ได้ทำอะไรนะ มันเป็นธรรมชาติ
แต่...ชีวิตมันต้องยากขึ้น มีอุปสรรคมากขึ้น เป็นธรรมดา
ในเมื่อ เด็กกลุ่มนี้ (fixed mindset)
มีแรงจูงใจหลัก คือ #ต้องไม่มีความผิดพลาด
ดังนั้น บางครั้ง ไม่พลาด ก็คือ
ไม่ต้องเข้าไปลองทำสิ่งนั้น
สิ่งใดที่ยาก ไม่ทำ
สิ่งใดที่เสี่ยง เลี่ยงซะ
.
ยิ่งกลัวผิดพลาด-->ยิ่งหลีกเลี่ยงที่จะทำสิ่งใหม่-->
ยิ่งลดโอกาสในการเรียนรู้-->เมื่อไม่ได้เรียนรู้ ถ้าต้องลงมือทำจริง ก็ยิ่งมีโอกาสผิดพลาด -->เมื่อผิดพลาด ก็ยิ่งสูญเสียความมั่นใจในตนเอง
คนที่มี fixed mindset ก็จะวนเวียนอยู่ใน loop นี้
==============================
แล้วจะส่ง #สาร อย่างไร
ให้ลูกเป็นคนที่มี Growth mindset
1.#ความจริงใจสำคัญที่สุด
(อย่าชมพร่ำเพรื่อ ถ้าจะชมให้พูดจากใจ)
ถ้าเราชมออกมาจากใจจริง คนที่ถูกชมเค้าจะรับรู้ได้
ทั้งจาก สีหน้า แววตา น้ำเสียง และเนื้อความที่พูด
คำชมที่ไม่จริงใจ นอกจากไม่ช่วยให้ใครพัฒนาแล้ว
ยังทำให้ความเชื่อใจ ความเชื่อมั่นในตัวเราลดลง
สำหรับลูกแล้ว พ่อแม่ต้องเป็นคนที่เค้าเชื่อถือได้เสมอนะคะ
เช่น ลูกเอารูปที่วาดมาโชว์ แต่รูปนี้ เค้าวาดหลายครั้งแล้วเราไม่ได้รู้สึกว่ามันสวยเป็นพิเศษ
แทนที่เราจะชมว่า สวย หรือ เก่งจังที่วาดได้
เราอาจจะต้องมองหาจุดเด่น
ในภาพวาดใหม่แต่ไม่ใหม่ของลูก
เช่น ครั้งนี้ลงเส้นได้ชัดดีนี่ลูก หรือ
เก็บรายละเอียดตรงนี้ได้ดีจัง
แล้วอาจจะชวนให้เค้าลองวาดอะไรใหม่ๆ ให้โจทย์ที่ท้าทายมากขึ้น
หรือ ถ้าลูกแพ้การแข่งขัน
เราไม่ต้องใช้คำชมเพื่อปลอบใจ
“แค่นี้ก็เก่งมากแล้วจ่ะ” หรือ “แต่แม่ว่าลูกทำได้ดีมากนะ”
ถ้าเราไม่รู้จะพูดอะไร ก็อยู่เคียงข้างเค้า ให้เค้ารู้ว่าถ้าต้องการกำลังใจเราอยู่ตรงนี้
เมื่อเค้าพร้อม ค่อยชวนพูดคุย เรื่องความรู้สึก และบทเรียนที่ได้ แนวทางพัฒนา
================================
2.#ใช้คำชมให้เหมาะสมกับพัฒนาการทางภาษาของลูก
หลายคนกังวลใจ ที่จะใช้คำว่า เก่งจัง สวยจัง ดีจัง น่ารักจังกับลูก แต่ถ้าลูกของเราเป็นเด็กอายุ 0-1 ปี คำพวกนี้ ก็เป็นคำในแนว positive ที่เค้าฟังแล้วเข้าใจ
โดยส่วนตัวหมอคิดว่าใช้ได้ค่ะ
มันคงแปลกพิลึก หากเราชมเด็ก 1 ปี เมื่อเอาของไปเก็บเข้าที่
“แม่รู้เลยว่าลูกพยายามเอื้อมไปเก็บอย่างสุดความสามารถ”😅
จริงๆแล้ว เด็กวัยก่อนพูด
ดูภาษากายของคุณแม่เป็นหลัก
และคำที่ใช้ ก็ควรเป็นคำสั้นๆ คำที่เราใช้กันอยู่ก็ใช้ได้นะคะ (ขอให้จริงใจ ไม่พร่ำเพรื่อก็พอ)
.
แต่ถ้าลูกของเรา เป็นเด็กอายุ 3 ปี
เค้าเข้าใจภาษาได้ดีมากแล้ว
คำว่า เก่ง ดี ฉลาด สวย etc. มันกว้างเกินไป
คงจะดีกว่า ถ้าเราพูดระบุรายละเอียดของสิ่งที่ทำให้เราพอใจ
Feedback ที่ดี คือ
สิ่งที่ดีอยู่แล้วคืออะไร
สิ่งที่สามารถพัฒนาได้อีกคือจุดไหน
ยกตัวอย่างให้เห็นภาพ
ถ้าเราไปตัดผมทรงใหม่ ทำสีผมมา เรามาโชว์เพื่อนๆ
“อืม สวยดี”
“ตัดผมทรงนี้ เข้ากับรูปหน้ามาก ผมสีนี้เข้ากับสีผิว ทำให้ผิวสว่างขึ้น”
เราชอบคำชมไหนคะ?
เด็กก็เช่นกัน เค้าเข้าใจภาษาได้ดีแล้ว
พ่อแม่ก็ช่วย #ให้เกียรติภาษาของเค้าด้วย
ด้วยการพูดใส่รายละเอียด
นอกจากจะทำให้ลูกรู้ว่าเราใส่ใจรายละเอียดเล็กน้อย
ยังฝึกมุมมองของลูก ให้มองเห็นจุดดี และจุดที่มีโอกาสพัฒนา
================================
3.ใช้ชมที่ #ความพยายามหรือกระบวนการมากกว่าผลลัพธ์
เด็กๆ เป็นวัยที่ใส่ใจกระบวนการมากกว่าผลลัพธ์อยู่แล้ว
ในใจของเด็กนั้น
ไม่ได้มีกรอบของความสวยงามแต่แรก
ไม่มีเส้นที่ระบายออกนอกไม่ได้
ไม่มีรูปทรงที่ไม่ได้ขนาด
แต่เมื่อเด็กถูกวิจารณ์บ่อยๆเข้า
เค้าถึงจะสร้างกรอบของ
ดี/ไม่ดี สวย/ไม่สวย เรียบร้อย/ไม่เรียบร้อย ขึ้นมาทีหลัง
ขอให้พ่อแม่เข้าใจว่า กว่าเด็กจะทำอะไรสำเร็จหนึ่งอย่าง
มันประกอบด้วย หลายกระบวนการ
ปั้นแป้งโดว์ -->เลือกสี-->นวดแป้ง-->คิดและจินตนาการถึงสิ่งที่จะปั้น -->ปั้นเป็นรูปทรงต่างๆ เอารูปทรงต่างๆมาประกอบเข้าด้วยกัน
กว่าจะได้เอามาโชว์แม่
ก็ผ่านความพยายาม และตั้งใจทุกกระบวนการ
ดังนั้น หากมันยังไม่สวย(ตามมาตรฐานผู้ใหญ่) ก็ให้ชมข้อดี ในกระบวนการที่เราเห็นก็แล้วกัน
“แม่ว่าลูกเอาแป้งสีขาวกับแดงผสมเป็นสีชมพูได้สวยจัง”
“ตรงนี้ปั้นเป็นหน้าพิซซ่า ปั้นเป็นพริกชิ้นเล็กๆ โห มันละเอียดมากเลย”
ถ้าลูกสอบได้คะแนนดีมาก หรือ ได้รับรางวัล
คำว่า “เก่งจังเลย” ย่อมเป็นคำที่เด็กอยากได้ยิน
แต่สิ่งที่สำคัญที่เราต้องส่งสัญญาณให้ลูกคือ
#เราชื่นชมความสำเร็จที่มาจากความพยายามความตั้งใจของลูก (ไม่ว่าผลลัพธ์จะเป็นอย่างไร)
“แม่ดีใจมากเลยลูก แม่รู้เลยว่าลูกตั้งใจทำมันมากจริงๆ
แล้วก็ได้ผลสมกับความทุ่มเทที่ทำไป”
หรือ แม้แต่ตอนที่เค้าล้มเหลว
ถ้าเราเป็นพ่อแม่ที่อยู่เคียงข้างเค้า
และเป็นคนที่รู้ความเป็นไปของลูกเสมอ
เราก็สามารถชี้ให้เห็นว่า เรารับรู้ความพยายามตรงขั้นตอนไหน หรือขั้นตอนไหนที่ต้องเพิ่มเติม
=============================
4.ชมให้สุด...อย่าทำตัวเป็นใบมีดโกนอาบน้ำผึ้ง
ประโยคที่ใช้เมื่อชมลูก ต้องมีแต่คำดีๆ
คำชมที่ฟังแล้ว ไม่รู้สึกดีเช่น
“ว้าว...วันนี้ตื่นอาบน้ำแปรงฟันได้เอง แม่ฝันไปรึเปล่าเนี่ย”
“วันนี้ตั้งใจทำการบ้านเสร็จเร็วมาก ถ้าทำแบบนี้ได้ทุกวันแม่ก็ไม่ต้องเหนื่อย”
“เก่งจัง ครั้งนี้สอบได้คะแนนเต็มเลย หรือว่าได้เต็มกันทุกคน”
ดีให้สุด อย่าสอดไส้ ด้วยคำประชดประชัน
ทำให้เด็กสับสนว่าตกลงที่ทำไป แม่ว่าดีหรือไม่ดีกันแน่
================================
5.การชื่นชมไม่จำเป็นต้องพูดเสมอไป
หากเราไม่ชิน เรื่องการพูดบรรยายความพยายาม
เพราะทั้งชีวิตเราก็ใช้คำว่า ดี เก่ง ฉลาด มาตลอด
ถ้าคิดไม่ทัน คำแนะนำคือ
ภาษากาย ก็เป็นส่วนสำคัญ
แววตา สีหน้า รอยยิ้ม แห่งความภาคภูมิใจของพ่อแม่
ก็ทำให้ลูกรับรู้ได้แล้วค่ะ
.
เมื่อคิดคำพูดดีๆได้ ค่อยพูด
================================
หมอแพม
สุขสันต์วันแห่งความรักค่ะ
(เขียนยาว สรุปให้ตัวเองอ่านด้วยค่ะ)
positive feedback loop 在 หมอแพมชวนอ่าน Facebook 的最讚貼文
#ชมลูกอย่างไรให้เกิดGrowth_mindset🌳🌾
ถ้าใครเคยอ่านหนังสือเรื่อง mindset ของ Dr.Carol Dweck
จะพบว่า ใจความสำคัญที่ Dr.Carol
พยายามจะสื่อให้กับผู้ปกครองและครู
ก็คือ
1. #mindset_ก่อร่างสร้างตัวตั้งแต่เด็กช่วงปฐมวัย
(หนึ่งในการทดลองที่อ้างอิงถึงในหนังสือ ผู้เข้าร่วมคือ เด็กอายุ 4 ขวบ)
2. #สารที่พ่อแม่และครูส่งให้กับลูกมีบทบาทสำคัญในการสร้างmindsetของเด็ก
สารที่ว่า ก็คือ ทัศนคติที่พ่อแม่ ครู ผู้ใหญ่ ส่งให้เด็กรับรู้
ว่า เค้าจะได้รับความรัก ได้รับคำชื่นชม เมื่อเค้าเป็นอย่างไร
.
หลังจากที่เด็กสร้าง self ตอนอายุประมาณ 3 ขวบ
เค้าก็อยากจะเป็นส่วนหนึ่งของโลก
โลกของเด็กเล็ก คือคนที่เค้ารัก
ได้แก่ พ่อแม่ ครู ผู้ใหญ่รอบตัว
ดังนั้น วิธีคิด มุมมอง ทัศนคติ ค่านิยม ของพ่อแม่ ครู
ก็จะกลายเป็นส่วนหนึ่งของ mindset ของเด็ก ไปโดยปริยาย
.
ถ้าเด็กรับรู้ว่า
เค้าต้องเก่ง, ไม่ผิดเลย, ฉลาดจัง, อัจฉริยะชัดๆ, สุดยอด, ไม่พลาดเลยนะ etc.
ถึงจะเป็นที่นิยมชมชอบ
เพราะฉะนั้น คนเก่งจะต้องไม่เกิดความผิดพลาด
ต้องดูเหมือนพวกฉลาดแต่เกิด เป็นอัจฉริยะ
(ไม่ต้องพยายามมาก ก็เหนือกว่าคนอื่น)
บางคนพยายามหนักมากหลังฉาก แต่เบื้องหน้าต้องทำเป็นฉันไม่ได้ทำอะไรนะ มันเป็นธรรมชาติ
แต่...ชีวิตมันต้องยากขึ้น มีอุปสรรคมากขึ้น เป็นธรรมดา
ในเมื่อ เด็กกลุ่มนี้ (fixed mindset)
มีแรงจูงใจหลัก คือ #ต้องไม่มีความผิดพลาด
ดังนั้น บางครั้ง ไม่พลาด ก็คือ
ไม่ต้องเข้าไปลองทำสิ่งนั้น
สิ่งใดที่ยาก ไม่ทำ
สิ่งใดที่เสี่ยง เลี่ยงซะ
.
ยิ่งกลัวผิดพลาด-\-\>ยิ่งหลีกเลี่ยงที่จะทำสิ่งใหม่-\-\>
ยิ่งลดโอกาสในการเรียนรู้-\-\>เมื่อไม่ได้เรียนรู้ ถ้าต้องลงมือทำจริง ก็ยิ่งมีโอกาสผิดพลาด -\-\>เมื่อผิดพลาด ก็ยิ่งสูญเสียความมั่นใจในตนเอง
คนที่มี fixed mindset ก็จะวนเวียนอยู่ใน loop นี้
==============================
แล้วจะส่ง #สาร อย่างไร
ให้ลูกเป็นคนที่มี Growth mindset
1.#ความจริงใจสำคัญที่สุด
(อย่าชมพร่ำเพรื่อ ถ้าจะชมให้พูดจากใจ)
ถ้าเราชมออกมาจากใจจริง คนที่ถูกชมเค้าจะรับรู้ได้
ทั้งจาก สีหน้า แววตา น้ำเสียง และเนื้อความที่พูด
คำชมที่ไม่จริงใจ นอกจากไม่ช่วยให้ใครพัฒนาแล้ว
ยังทำให้ความเชื่อใจ ความเชื่อมั่นในตัวเราลดลง
สำหรับลูกแล้ว พ่อแม่ต้องเป็นคนที่เค้าเชื่อถือได้เสมอนะคะ
เช่น ลูกเอารูปที่วาดมาโชว์ แต่รูปนี้ เค้าวาดหลายครั้งแล้วเราไม่ได้รู้สึกว่ามันสวยเป็นพิเศษ
แทนที่เราจะชมว่า สวย หรือ เก่งจังที่วาดได้
เราอาจจะต้องมองหาจุดเด่น
ในภาพวาดใหม่แต่ไม่ใหม่ของลูก
เช่น ครั้งนี้ลงเส้นได้ชัดดีนี่ลูก หรือ
เก็บรายละเอียดตรงนี้ได้ดีจัง
แล้วอาจจะชวนให้เค้าลองวาดอะไรใหม่ๆ ให้โจทย์ที่ท้าทายมากขึ้น
หรือ ถ้าลูกแพ้การแข่งขัน
เราไม่ต้องใช้คำชมเพื่อปลอบใจ
“แค่นี้ก็เก่งมากแล้วจ่ะ” หรือ “แต่แม่ว่าลูกทำได้ดีมากนะ”
ถ้าเราไม่รู้จะพูดอะไร ก็อยู่เคียงข้างเค้า ให้เค้ารู้ว่าถ้าต้องการกำลังใจเราอยู่ตรงนี้
เมื่อเค้าพร้อม ค่อยชวนพูดคุย เรื่องความรู้สึก และบทเรียนที่ได้ แนวทางพัฒนา
================================
2.#ใช้คำชมให้เหมาะสมกับพัฒนาการทางภาษาของลูก
หลายคนกังวลใจ ที่จะใช้คำว่า เก่งจัง สวยจัง ดีจัง น่ารักจังกับลูก แต่ถ้าลูกของเราเป็นเด็กอายุ 0-1 ปี คำพวกนี้ ก็เป็นคำในแนว positive ที่เค้าฟังแล้วเข้าใจ
โดยส่วนตัวหมอคิดว่าใช้ได้ค่ะ
มันคงแปลกพิลึก หากเราชมเด็ก 1 ปี เมื่อเอาของไปเก็บเข้าที่
“แม่รู้เลยว่าลูกพยายามเอื้อมไปเก็บอย่างสุดความสามารถ”😅
จริงๆแล้ว เด็กวัยก่อนพูด
ดูภาษากายของคุณแม่เป็นหลัก
และคำที่ใช้ ก็ควรเป็นคำสั้นๆ คำที่เราใช้กันอยู่ก็ใช้ได้นะคะ (ขอให้จริงใจ ไม่พร่ำเพรื่อก็พอ)
.
แต่ถ้าลูกของเรา เป็นเด็กอายุ 3 ปี
เค้าเข้าใจภาษาได้ดีมากแล้ว
คำว่า เก่ง ดี ฉลาด สวย etc. มันกว้างเกินไป
คงจะดีกว่า ถ้าเราพูดระบุรายละเอียดของสิ่งที่ทำให้เราพอใจ
Feedback ที่ดี คือ
สิ่งที่ดีอยู่แล้วคืออะไร
สิ่งที่สามารถพัฒนาได้อีกคือจุดไหน
ยกตัวอย่างให้เห็นภาพ
ถ้าเราไปตัดผมทรงใหม่ ทำสีผมมา เรามาโชว์เพื่อนๆ
“อืม สวยดี”
“ตัดผมทรงนี้ เข้ากับรูปหน้ามาก ผมสีนี้เข้ากับสีผิว ทำให้ผิวสว่างขึ้น”
เราชอบคำชมไหนคะ?
เด็กก็เช่นกัน เค้าเข้าใจภาษาได้ดีแล้ว
พ่อแม่ก็ช่วย #ให้เกียรติภาษาของเค้าด้วย
ด้วยการพูดใส่รายละเอียด
นอกจากจะทำให้ลูกรู้ว่าเราใส่ใจรายละเอียดเล็กน้อย
ยังฝึกมุมมองของลูก ให้มองเห็นจุดดี และจุดที่มีโอกาสพัฒนา
================================
3.ใช้ชมที่ #ความพยายามหรือกระบวนการมากกว่าผลลัพธ์
เด็กๆ เป็นวัยที่ใส่ใจกระบวนการมากกว่าผลลัพธ์อยู่แล้ว
ในใจของเด็กนั้น
ไม่ได้มีกรอบของความสวยงามแต่แรก
ไม่มีเส้นที่ระบายออกนอกไม่ได้
ไม่มีรูปทรงที่ไม่ได้ขนาด
แต่เมื่อเด็กถูกวิจารณ์บ่อยๆเข้า
เค้าถึงจะสร้างกรอบของ
ดี/ไม่ดี สวย/ไม่สวย เรียบร้อย/ไม่เรียบร้อย ขึ้นมาทีหลัง
ขอให้พ่อแม่เข้าใจว่า กว่าเด็กจะทำอะไรสำเร็จหนึ่งอย่าง
มันประกอบด้วย หลายกระบวนการ
ปั้นแป้งโดว์ -\-\>เลือกสี-\-\>นวดแป้ง-\-\>คิดและจินตนาการถึงสิ่งที่จะปั้น -\-\>ปั้นเป็นรูปทรงต่างๆ เอารูปทรงต่างๆมาประกอบเข้าด้วยกัน
กว่าจะได้เอามาโชว์แม่
ก็ผ่านความพยายาม และตั้งใจทุกกระบวนการ
ดังนั้น หากมันยังไม่สวย(ตามมาตรฐานผู้ใหญ่) ก็ให้ชมข้อดี ในกระบวนการที่เราเห็นก็แล้วกัน
“แม่ว่าลูกเอาแป้งสีขาวกับแดงผสมเป็นสีชมพูได้สวยจัง”
“ตรงนี้ปั้นเป็นหน้าพิซซ่า ปั้นเป็นพริกชิ้นเล็กๆ โห มันละเอียดมากเลย”
ถ้าลูกสอบได้คะแนนดีมาก หรือ ได้รับรางวัล
คำว่า “เก่งจังเลย” ย่อมเป็นคำที่เด็กอยากได้ยิน
แต่สิ่งที่สำคัญที่เราต้องส่งสัญญาณให้ลูกคือ
#เราชื่นชมความสำเร็จที่มาจากความพยายามความตั้งใจของลูก (ไม่ว่าผลลัพธ์จะเป็นอย่างไร)
“แม่ดีใจมากเลยลูก แม่รู้เลยว่าลูกตั้งใจทำมันมากจริงๆ
แล้วก็ได้ผลสมกับความทุ่มเทที่ทำไป”
หรือ แม้แต่ตอนที่เค้าล้มเหลว
ถ้าเราเป็นพ่อแม่ที่อยู่เคียงข้างเค้า
และเป็นคนที่รู้ความเป็นไปของลูกเสมอ
เราก็สามารถชี้ให้เห็นว่า เรารับรู้ความพยายามตรงขั้นตอนไหน หรือขั้นตอนไหนที่ต้องเพิ่มเติม
=============================
4.ชมให้สุด...อย่าทำตัวเป็นใบมีดโกนอาบน้ำผึ้ง
ประโยคที่ใช้เมื่อชมลูก ต้องมีแต่คำดีๆ
คำชมที่ฟังแล้ว ไม่รู้สึกดีเช่น
“ว้าว...วันนี้ตื่นอาบน้ำแปรงฟันได้เอง แม่ฝันไปรึเปล่าเนี่ย”
“วันนี้ตั้งใจทำการบ้านเสร็จเร็วมาก ถ้าทำแบบนี้ได้ทุกวันแม่ก็ไม่ต้องเหนื่อย”
“เก่งจัง ครั้งนี้สอบได้คะแนนเต็มเลย หรือว่าได้เต็มกันทุกคน”
ดีให้สุด อย่าสอดไส้ ด้วยคำประชดประชัน
ทำให้เด็กสับสนว่าตกลงที่ทำไป แม่ว่าดีหรือไม่ดีกันแน่
================================
5.การชื่นชมไม่จำเป็นต้องพูดเสมอไป
หากเราไม่ชิน เรื่องการพูดบรรยายความพยายาม
เพราะทั้งชีวิตเราก็ใช้คำว่า ดี เก่ง ฉลาด มาตลอด
ถ้าคิดไม่ทัน คำแนะนำคือ
ภาษากาย ก็เป็นส่วนสำคัญ
แววตา สีหน้า รอยยิ้ม แห่งความภาคภูมิใจของพ่อแม่
ก็ทำให้ลูกรับรู้ได้แล้วค่ะ
.
เมื่อคิดคำพูดดีๆได้ ค่อยพูด
================================
หมอแพม
สุขสันต์วันแห่งความรักค่ะ
(เขียนยาว สรุปให้ตัวเองอ่านด้วยค่ะ)
positive feedback loop 在 Ha & Phong Talk Youtube 的最佳解答
? Giới thiệu phương pháp giúp tự có động lực liên tục ?
Động lực luôn là một vấn đề lớn. Làm sao để có động lực liên tục để thực hiện những mục tiêu lớn, như đạt điểm IELTS hay thay đổi cơ thể??
Trong video này, thầy Hà và Phong sẽ chia sẻ về Positive Feedback Loop - một hệ thống giúp tự "tái tạo" động lực hiệu quả. Bản thân 2 thầy cũng dùng phương pháp này hàng ngày để dùy trì việc học tiếng Anh và tập luyện.
? Tuyển sinh các lớp IELTS hàng tháng ở Ha Phong IELTS: www.haphongielts.com
Các lớp học sĩ số nhỏ (8-12). Giảng viên tận tâm & chuyên môn cao. Học thử buổi đầu miễn phí!
? Lớp online nếu bạn không đến được, hiệu quả như lớp thường: www.haphongielts.com/loponline
positive feedback loop 在 #ミニマリストライフ Youtube 的最佳解答
最近、Googleの検索ランキングで化け文字(迴ツセ驥大喧)がランクインしています。多分、Googleのバグだと思いますが、Googleが何らかのきっかけで化け文字をランクインさせると、周りのサイトや人間を巻き込んで更にランクを上げていくという悪循環が発生します。 これを見ていて、昔学校で習ったポジティブフィードバックについて思い出しました。
自動制御に付いての教育を受けると、ネガティブフィードバックとポジティブフィードバックについて習います。 ネガティブフィードバックとはある指定された値にめがけて機械を制御することです。 例えば、クルマが遅い場合はアクセルを踏み、早い場合はアクセルを緩めたりブレーキを踏んだりします。基本この組み合わせで一定の速度が保たれます。 多すぎれば引き算、少なすぎれば足し算、プラスをマイナスにするという意味でネガティブフィードバックと呼ばれます。
一方、ポジティブフィードバックとは多ければ更に多くする、少なければ更に少なくします。 これについては概念を教えられるだけで、応用例の話しはありません。 気の利いた講師であれば、自然のシステムにはポジティブフィードバックという物が有り、人間の集団ヒステリーの様な状態を作るのがポジティブフィードバックと説明されると思います。
今回の化け文字キーワード上昇も、Googleを含めた社会的システムのポジティブフィードバックが働いた為だと思います。
以上
positive feedback loop 在 Positive Feedback Loop - 首頁| Facebook 的推薦與評價
Positive Feedback Loop 。 619 個讚。 By day, they work in a secret government laboratory. By night, they code classified data into rock songs. ... <看更多>