【本校防疫訊息 配合防疫警戒降為二級調整各項防疫措施】
NTU COVID-19 Prevention Message—Preventive Measures in the Upcoming Alert Level 2
.
全校教職員工生大家好:
配合指揮中心宣布防疫警戒降為二級,本校調整各項防疫措施如下:
.
1.7月27日起上午7時至下午7時校園進出口增至七處,夜間則維持三處進出口。校內各館舍管制維持目前三級管制方式。
總務處公告:( https://ga.ntu.edu.tw/main_ch/docDetail/55/55/28445/1100513 )
.
2.暑期校方辦理課程維持遠距離,如果院系有些課程,需要實體實施,請跟教務處申請;教室內只允許50人以下上課;校屬教學大樓空間暫時維持不外借。
.
3.強烈建議社團仍以辦理線上活動為主;在防疫相關規範下,於7/27~8/9期間,有條件開放室內50人、室外100人以下之實體活動(體育性活動限制室內20人、室外40人以下);音樂性社團如無法全程配戴口罩,則不開放辦理活動;其餘體育性及旅遊性活動,因易有肢體碰觸或無法全程配戴口罩(住宿),將輔導社團嚴格遵守防疫政策,如降低活動人數、住宿一人一室等。
課外組公告:( https://osa_activity.ntu.edu.tw/board/detail/sn/2132)
.
4.學生活動中心開放社團辦公室及場地借用,惟食品、飲料技藝社辦在臺北市政府宣布開放餐廳內用前,仍暫停開放。
學生活動中心公告:(http://www.active.ntu.edu.tw/board/detail/sn/758)
.
5.學生心理輔導中心(含資源教室)即日起進行三級警戒前以及警戒期間之學生的初、晤談安排,以及開放初談預約。
心輔中心公告:( https://scc_osa.ntu.edu.tw/board/detail/sn/142 )
.
6.保健中心門診維持現行僅上午家醫科看診的模式,且開放接受校外人士初診。
保健中心公告:( https://shmc.ntu.edu.tw/board/detail/sn/878 )
.
7.圖書館配合措施如下:
(1) 8月2日上午8時起恢復開放讀者入館,7月27~30日期間,仍維持現行閉館窗口服務及開放時間。
(2)全館各樓層開放(含自習室),開放時間調整為週一至週五8-17時,週六、週日不開放。
(3)閱覽區及自習室一律採梅花座,總圖書館一至五樓閱覽區容留人數上限為400人,自習室容留人數上限為394人。
圖書館公告:( https://www.lib.ntu.edu.tw/node/4052 )
.
8.體育室轄管之運動場館,戶外場地將開放田徑場、棒壘球場、網球場、籃球場及排球場;綜合體育館與舊體將開放室內球類場地及健身中心,供本校教職員工生、校友及本校退休人員使用。運動時須全程配戴口罩,不得違規群聚,詳細規範請洽詢體育室或參考各場地現場張貼的使用規範。
新體公告:( https://ntusportscenter.ntu.edu.tw/#/ )
體育室公告:( https://pe.ntu.edu.tw/?tid=96#/news/2366/news )
.
9.校內餐廳一律外帶使用,校外委外場地防疫措施是否鬆綁依台北巿政府規定辦理,目前暫停營業商家將再協調開業時間。
.
10.公文傳送仍暫維持現有運作方式。
.
11.自7月27日起各單位居家辦公人數調整為不超過單位總人數之二分之一為原則,居家辦公者須完成網路電話設定,維持辦公室聯絡無中斷。此外,居家辦公人員採1小時彈性上下班時間(上班08:00至09:00、下班17:00至18:00)規定。
人事室公告:( https://ann.cc.ntu.edu.tw/asp/Show.asp?num=82539 )
.
其他相關防疫措施細節,請以各權責單位網頁公告為準。
.
國立臺灣大學防疫小組 敬上
.
.
Dear NTU students and colleagues,
.
According to the Central Epidemic Command Center (CECC), the current alert level will be lowered to Level 2 starting July 27. In response to this, the University is asking all of you to fully comply with the newly adjusted measures as follows.
.
1.Starting July 27, the Main Campus will be accessed via the current three to seven gates, from 7 a.m. to 7 p.m. The campus can only be accessed in the evenings through the three gates. Level 3 access control will continue to be implemented to all university premises.
Click the link for more information
( https://ga.ntu.edu.tw/main_ch/docDetail/55/55/28445/1100513 )
.
2.Summer courses will continue to be taught remotely. If necessary, applications for in-person classes may be filed with the Office of Academic Affairs. To this end, each in-person class should accommodate no more than 50 people. Rental of the University’s lecture buildings remains unavailable.
.
3. Club events are strongly advised to be held online. In compliance with the regulations during the lowered alert level period (July 27-August 9), in-person events with no more than 50 people indoors or 100 people outdoors may be held (the number is reduced to 20 people indoors and 40 people outdoors for sports events). In-person music club events should not be held if the mask-wearing mandate cannot be enforced. For other types of sports and leisurely events where physical contact cannot be avoided or masks cannot be worn at all times (e.g. accommodation), the organizing clubs will be instructed to strictly abide by preventive measures such as reducing the number of participants and following the one person per room policy.
.
4. The Student Activity Center will reopen student club offices and open rental of its spaces. However, the food and beverage club will remain closed before resumption of dining-in is announced by the Taipei City Government.
.
5. The Student Counseling Center (including the Disability Support Services) will resume counseling services and reservation as of the day of the lowered alert level. Click the following for more information
(https://scc_osa.ntu.edu.tw/en/board/detail/sn/144 )
.
6. The morning Family Medicine clinics at the Health Center will continue. First-time registration is allowed for non-NTU members. Click the following for more information
( https://shmc.ntu.edu.tw/board/detail/sn/878 )
.
7. Preventive measures at the NTU Library are as follows:
1) The library will reopen to the general public beginning 8 a.m. August 2. From July 27 to 30, it will remain closed and only the circulation service is available.
2) All floors will reopen (including the B1 study rooms). The opening hours are 8 a.m.-5 p.m., Mon. through Fri. The library is closed on weekends.
3) Criss-cross seating will be implemented in the reading areas and study rooms. The library may accommodate up to 400 people in its reading areas (1st to 5th floors). The reading rooms may accommodate up to 394 people. Click the following for more information
.
8. The Athletic Department will reopen the outdoor Sports Field, baseball and softball fields, tennis courts, basketball courts and volleyball courts. Indoor ball courts and the fitness center at the NTU Sports Center and the old Sports Center will be reopened to all members of the NTU community. Please wear a mask at all times when you play sports. Clustering in these locations is strictly forbidden. For more information, please contact the Athletic Department or refer to terms of use at every venue.
.
9.On-campus food locations provide take-outs only; off-campus restaurants will follow the announcements by the Taipei City Government. Talks with the food providers on resuming operation is still ongoing.
.
10. The current method for delivering official documents will continue.
.
11. Starting July 27, not more than ½ of all the staff in a given academic/administrative office should work from home. Those that do should have their internet phone set up and abide by the one-hour flextime (clock in 8-9 a.m.; clock out 5-6 p.m.).
.
For details of other preventive measures, please refer to online announcements of respective competent offices.
.
Sincerely yours,
NTU Epidemic Prevention Team
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「preventive medicine」的推薦目錄:
- 關於preventive medicine 在 國立臺灣大學 National Taiwan University Facebook 的最佳貼文
- 關於preventive medicine 在 康健雜誌 Facebook 的最讚貼文
- 關於preventive medicine 在 หมอๆ ตะลุยโลก Facebook 的最佳解答
- 關於preventive medicine 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
- 關於preventive medicine 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
- 關於preventive medicine 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
preventive medicine 在 康健雜誌 Facebook 的最讚貼文
【不生病藏傳養生術:每天醒來必做2件事! 醫師3招調節自律神經、提升免疫力】
早晨第一件事影響了一整天的身體狀態,預防醫學醫師洛桑加參每天早上醒來一定會做「這2件事」,釋放壓力且愉快地展開一天。
另外他也分享3招小撇步,能幫助調順你的自律神經,讓心情穩定,免疫力也跟著提升! 👇👇
-------------------------------------------
🎁加入康健LINE好友,最新健康資訊不漏接>>https://maac.io/1g5Nl
preventive medicine 在 หมอๆ ตะลุยโลก Facebook 的最佳解答
เส้นทางชีวิตหลังจบแพทย์แล้ว เป็นอย่างไร
วันนี้ขอมาเล่าเรื่องอะไรเล็กน้อย เกี่ยวกับชีวิตของแพทย์นะครับ คิดว่าน่าจะมีประโยชน์ให้กับผู้อ่านได้ในหลายๆส่วน โดยเฉพาะกับคำถามที่ว่า
“หลังจากจบแพทย์ 6 ปีแล้ว หมอแบบพวกเรา ไปอยู่ส่วนไหนของสังคมกันบ้าง”
อย่างที่ทุกๆคนทราบเหมือนกันว่าการเรียนแพทย์นั้นใช้เวลาเรียน 6 ปี หลังจากจบชั้น ม.6 ในระบบภาคการศึกษาปกติของประเทศไทย เข้ามหาวิทยาลัยตอนอายุ 17-18 ปี ตอนจบอายุจะประมาณ 23-24 ปี แตกต่างกันไปในแต่ละคน
พอมาถึงจุดนี้บางส่วนก็จะเลือกที่จะอยู่ในโรงเรียนแพทย์ต่อและเรียนต่อเฉพาะทางในทันที ก็จะจบออกมาเป็นแพทย์เฉพาะทางตั้งแต่อายุยี่สิบปลายๆ ส่วนอีกทางก็อาจจะเลือกออกไปทำงานชดใช้ทุนตามสัญญาที่มีกับภาครัฐ สั้นบ้าง ยาวบ้าง แล้วแต่สัญญา อยู่ในระหว่าง 1-5 ปี
หลังจากนั้นก็จะกลับมาเรียนต่อเฉพาะทาง
พอถึงจังหวะเรียนต่อเฉพาะทาง ก็จะกลับมาเรียน หมออายุรกรรม หมอผ่าตัด หมอตา หมอหู หมอสูติ หมอเด็ก หมอห้องฉุกเฉิน ฯลฯ จะใช้เวลาราวๆ 3-5 ปีแล้วแต่สาขา
หลังจากนั้นพอจบเฉพาะทางเสร็จแล้ว ก็จะมาต่อเฉพาะทางต่อยอด เป็น หมอหัวใจ หมอไต หมอตับ ฯลฯ ว่ากันไปอีก 1-2 ปี แบบนี้
อันนี้คือภาพการเดินทางของหมอในเส้นทางที่เราจะรู้จักและเข้าใจกันดี ให้ผมอธิบายต่อในอีกหนึ่งมุมมองของหมอที่ไม่ได้ทำงานในโรงพยาบาลครับ ซึ่งเทียบสัดส่วนแล้วอาจจะไม่ได้มาก แต่อาจจะเป็นทางเลือกสำหรับใครหลายๆคน
ก่อนอื่นเนื่องจากการที่ตัวเนื้องานไม่ได้อิงกับโรงพยาบาล นั่นแปลว่า ภาระงานส่วนใหญ่ก็อาจจะไม่เกี่ยวข้องกับการดูแลหรือรักษาคนที่ป่วยโดยตรง แต่จะออกไปในรูปแบบต่างๆ หรือออกไปในแนวทางของการทำวิจัย (research) หรือ ป้องกันโรคมากยิ่งขึ้น (preventive)
ถ้าเราได้ลองมองสาขาวิชาเฉพาะของเวชศาสตร์ป้องกัน (preventive medicine) ที่มีในเมืองไทยตอนนี้ จะมีอยู่ดังนี้ครับ
• ระบาดวิทยา (Epidemiology) เป็นนักระบาดวิทยา ถ้าในยุคโควิดก็จะเห็นภาพชัดเจนที่สุด คือแพทย์ส่วนใหญ่ที่ทำงานในกรมควบคุมโรค มีหน้าที่สอบสวนโรค ส่วนใหญ่แล้วจะทำงานกับภาครัฐเพราะถือเป็น policy maker สามารถขึ้นไปทำงานในองค์กรระหว่างประเทศอย่าง องค์กรอนามัยโลกหรือสำนักงานขององค์กรอนามัยโลกภาคพื้นเอเชีย (SEARO) แบบนี้ ประเทศไทยจะมีหลักสูตรการสอนที่ชื่อว่า FETP ที่มีหมอจากต่างชาติมาเรียนด้วยครับ
• เวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว (Travel Medicine) ดูแลนักเดินทาง (ที่ไม่ใช่แค่นักท่องเที่ยว) ก่อนเดินทางก็ดูแลและหาวิธีป้องกันไม่ให้เกิดโรค ณ สถานที่ปลายทางที่เดินทางไป เช่น จะไปแทนซาเนีย 1 เดือน ควรต้องเตรียมตัวอย่างไร หรือ ถ้ากลับมาจากการเดินทางแล้วป่วย จะสงสัยโรคอะไร เพราะแต่ละประเทศจะมีสาเหตุของการเกิดโรคที่อาจจะเหมือนหรือไม่เหมือนกันได้ แม้จะมาด้วยอาการที่ใกล้เคียงกัน
• เวชศาสตร์การบิน (Aviation Medicine) ดูแลทุกอย่างที่เกี่ยวกับการแพทย์ที่อยู่เหนือพื้นดินครับ ยกตัวอย่างให้พอเห็นภาพจะมีแพทย์ที่เรียกว่า Flight surgeon ที่ไม่ใช่ศัลยแพทย์นะครับ แต่เป็นแพทย์ที่ดูแลผู้ป่วยระหว่างที่มีการเคลื่อนย้ายทางอากาศ เช่น จำเป็นต้องมีการย้ายผู้ป่วยข้ามประเทศทางเครื่องบินพยาบาล (air ambulance) หรือในเครื่องบินพาณิชย์
• เวชศาสตร์ทางทะเล (Maritime Medicine) ดูแลทุกอย่างที่เกี่ยวกับทางทะเล ตั้งแต่เวชศาสตร์ใต้น้ำ (underwater) ดูแลเครื่องความดันบรรยากาศสูง (hyperbaric chamber) ซึ่งเรามักจะเข้าใจว่าเอาไว้ภาวะน้ำหนีบในนักดำน้ำ แต่จริงๆเอาไว้ใช้รักษาโรคอื่นได้อีกมากมาย ดูแลคนที่ทำงานในทะเล เพราะในทะเลจะมีระบบกฎหมายการทำงานทางสุขภาพที่แตกต่างของผู้ที่ทำงานบนฝั่งแบบนี้ครับ
• เวชศาสตร์ป้องกันคลินิก (Clinical Preventive Medicine) เป็นผู้ที่เชี่ยวชาญด้านการป้องกันโรคจะพบได้ในคณะแพทยศาสตร์ เนื่องจากเป็นอาจารย์แพทย์ที่จะทำการสอนด้านเวชศาสตร์ป้องกันให้กับนักศึกษาแพทย์หรือแพทย์ประจำบ้านอีกครั้ง
• สาธารณสุขศาสตร์ (Public health)
• สุขภาพจิตชุมชน (Community Mental Health) แพทย์ที่ดูแลด้านสุขภาพจิตในเชิงของการป้องกัน (จิตแพทย์จะลงลึกไปในเรื่องของการรักษาซึ่งเน้นกันคนละจุดครับ)
• อาชีวเวชศาสตร์ (Occupational Medicine) เป็นแพทย์ที่ดูแลและป้องกันโรคภัยที่เกิดจากการประกอบอาชีพ มองให้เห็นภาพคือ การจะมีโรงงานอุตสาหกรรมที่คนทำงาน ทำแล้วไม่เกิดปัญหาทางกาย หมอคนนี้คือคนที่ดูแลและป้องกันครับ เช่น โรงงานทำแร่ใยหิน ก็จะจัดการเรื่องแร่ใยหินให้ถูกต้อง ป้องกันไม่ให้เกิดโรคจากแร่ใยหินแบบนี้
• เวชศาสตร์การจราจร (Traffic Medicine) สาขานี้พึ่งจะเริ่มต้นมีประเทศไทยครับ
นอกจากนี้แล้ว จริงๆแล้ว ยังมีสาขาอื่นๆอีก ที่น่าสนใจแต่ยังไม่ได้มีรายละเอียดในบ้านเรามากนักครับ แพทย์ที่ทำงานในด้าน IT โดยเฉพาะ ที่เรียกว่า Medical Informatician ครับ ซึ่งการเรียนการสอนในสาขานี้ เท่าที่ทราบคือยังไม่มีในเมืองไทย ต้องไปเรียนที่ต่างประเทศ
หรือแพทย์ที่ทำงานอยู่ในสายของนักวิจัย เพราะจบทางด้านวิทยาศาสตร์มาพร้อมๆกัน เช่น ด้านเภสัชวิทยา สรีรวิทยา ภายวิภาคศาสตร์ ฯลฯ ส่วนใหญ่ผู้เชี่ยวขาญสาขานี้จะอยู่ในคณะวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่มีคณะแพทย์อยู่ และเป็นผู้ที่ทำการสอนนักศึกษาแพทย์ในช่วงขั้น ปีที่ 2-3 หรือถ้าออกไปทำงานในบริษัทยาก็อาจจะเป็นนักวิจัยยา (Pharmaceutical Researcher)
หรืออาจะเป็นแพทย์ที่ไปทำงานในหน่วยงานของเอกชนที่มีหน่วยงานของแพทย์อยู่ ทำงานเป็นแพทย์ที่เป็นผู้ประสานงานทางการแพทย์ (Medical Coordinator)
ทำงานในบริษัทเอกชนในตำแหน่ง Corporate physician หรือในบริษัทประกัน (Insurance) หรืออาจจะเป็นผู้แทนของบริษัทยา Medical Sales Representative
หรือบางคนอาจจะออกไปโลดแล่นกับหน่วยงานระหว่างประเทศเลย เช่น องค์กรแพทย์ไร้พรมแดน (Médecins Sans Frontières)
หรืออาจจะมาในอาชีพที่คนทั่วไปก็เข้าถึงได้เช่น นักเขียน นักเล่าเรื่อง (medical writer) หรือจะออกมาเริ่มต้นทำธุรกิจในสายงานสุขภาพ (Medical startup entrepreneur) ซึ่งทั้ง 2 อย่างหลังนี้ มีตัวอย่างของผู้ทบุกเบิกไว้ให้เห็นภาพพอสมควรแล้ว
สุดท้ายนี้ ก็ที่เขียนบทความนี้ขึ้นมา ก็อยากให้ทุกคนได้เห็นภาพในอีกด้านหนึ่งของอาชีพที่อาจจะช่วยเป็นแนวทางให้คนหลายๆคน (รุ่นน้องนักศึกษาแพทย์ หรือเพื่อนร่วมวิชาชีพ) หรือผู้ที่สนใจได้ครับ ว่าสามารถมีทางเลือกอะไรที่มีความเป็นไปได้บ้างในตอนนี้
preventive medicine 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
preventive medicine 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
preventive medicine 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
preventive medicine 在 Preventive Medicine | Journal | ScienceDirect.com by Elsevier 的相關結果
Founded in 1972 by Ernst Wynder, Preventive Medicine is an international scholarly journal that publishes original articles on the science and practice of ... ... <看更多>
preventive medicine 在 What is Preventive Medicine? | ACPM 的相關結果
Preventive medicine is a medical specialty recognized by the American Board of Medical Specialties (ABMS), which focuses on the health of individuals and ... ... <看更多>
preventive medicine 在 Preventive Medicine - Journals | Elsevier 的相關結果
Founded in 1972 by Ernst Wynder, Preventive Medicine is an international scholarly journal that publishes original articles on the science and practice of ... ... <看更多>